ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๑ สังยุตตนิกาย มหาวารวรรค
             [๑๗๐๐] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ก็สมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งย่อมไม่รู้ชัดตาม
ความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ... นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา สมณะหรือพราหมณ์เหล่านั้นไม่นับว่าเป็น
สมณะในพวกสมณะ หรือว่าเป็นพราหมณ์ในพวกพราหมณ์ และท่านเหล่านั้นยังไม่กระทำให้
แจ้งซึ่งประโยชน์แห่งความเป็นสมณะหรือประโยชน์แห่งความเป็นพราหมณ์ ด้วยปัญญาอันยิ่ง
เอง ในปัจจุบัน เข้าถึงอยู่.
             [๑๗๐๑] ดูกรภิกษุทั้งหลาย ส่วนสมณะหรือพราหมณ์เหล่าใดเหล่าหนึ่งย่อมรู้ตาม
ความเป็นจริงว่า นี้ทุกข์ ... นี้ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา สมณะหรือพราหมณ์พวกนั้น นับว่าเป็น
สมณะในพวกสมณะ และนับว่าเป็นพราหมณ์ในพวกพราหมณ์ และท่านเหล่านั้นกระทำให้แจ้ง
แล้วซึ่งประโยชน์แห่งความเป็นสมณะ และประโยชน์แห่งความเป็นพราหมณ์ ด้วยปัญญาอันยิ่ง
เอง ในปัจจุบันเข้าถึงอยู่ พระผู้มีพระภาคผู้สุคตศาสดา ครั้นได้ตรัสไวยากรณภาษิตนี้จบลงแล้ว
จึงได้ตรัสคาถาประพันธ์ต่อไปอีกว่า
             [๑๗๐๒] 	ชนเหล่าใดย่อมไม่รู้ชัดซึ่งทุกข์ เหตุเกิดแห่งทุกข์ ความดับ
                          ทุกข์ โดยประการทั้งปวงไม่มีเหลือ และไม่รู้ชัดซึ่งทางให้ถึงความ
                          สงบทุกข์ ชนเหล่านั้นเสื่อมแล้วจากเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ
                          ไม่ควรเพื่อกระทำที่สุดทุกข์  เข้าถึงชาติและชราโดยแท้ ส่วนชน
                          เหล่าใดย่อมรู้ชัดซึ่งทุกข์ เหตุเกิดแห่งทุกข์ ความดับทุกข์ โดย
                          ประการทั้งปวงไม่มีเหลือ และรู้ชัดซึ่งทางให้ถึงความสงบทุกข์ ชน
                          เหล่านั้นถึงพร้อมแล้วด้วยเจโตวิมุติ และปัญญาวิมุติ ควรเพื่อ
                          กระทำที่สุดทุกข์ ไม่เข้าถึงชาติและชรา.
จบ สูตรที่ ๒
สัมมาสัมพุทธสูตร
ว่าด้วยความเป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๑๙ บรรทัดที่ ๑๐๒๖๖-๑๐๒๘๗ หน้าที่ ๔๒๘-๔๒๙. https://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=19&A=10266&Z=10287&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- https://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=19&siri=402              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- https://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=19&i=1700              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- [1700-1703] https://84000.org/tipitaka/pali/pali_item_s.php?book=19&item=1700&items=4              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=13&A=8313              The Pali Tipitaka in Roman :- [1700-1703] https://84000.org/tipitaka/pali/roman_item_s.php?book=19&item=1700&items=4              The Pali Atthakatha in Roman :- https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=13&A=8313              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๙ https://84000.org/tipitaka/read/?index_19              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://accesstoinsight.org/tipitaka/sn/sn56/sn56.022x.wlsh.html https://suttacentral.net/sn56.22/en/sujato https://suttacentral.net/sn56.22/en/bodhi

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกของแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๗ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๔๖ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :