ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๗ มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
ปัญหาวาร
[๑๖๖๘] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ทั้งหลาย โดย- *เหตุปัจจัย [๑๖๖๙] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย [๑๖๗๐] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และ อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย [๑๖๗๑] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย เหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยสัมปยุตตขันธ์ และ กฏัตตารูป โดยเหตุปัจจัย [๑๖๗๒] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดย เหตุปัจจัย [๑๖๗๓] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดย เหตุปัจจัย [๑๖๗๔] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยเหตุปัจจัย คือ เหตุที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย [๑๖๗๕] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลยินดี เพลิดเพลินราคะ เพราะปรารภราคะนั้น มีราคะ ทิฏฐิ วิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส เกิดขึ้น ยินดีทิฏฐิ เพราะปรารภวิจิกิจฉา อุทธัจจะ โทมนัส ฯลฯ ในกุสลัตติกะ ท่านจำแนกไว้อย่างไร พึงจำแนกอย่างนั้น [๑๖๗๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ พระอริยะทั้งหลาย พิจารณากิเลสที่ละแล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มแล้ว รู้กิเลส ที่เคยเกิดแล้วในกาลก่อน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา รู้จิตของบุคคลผู้มีความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นสังกิลิฏฐ- *สังกิเลสิกธรรม โดยเจโตปริยญาณ พระเสกขะหรือปุถุชน พิจารณาเห็นขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยความ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เมื่อกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก เกิดขึ้น ยินดี เพลิดเพลิน ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โทมนัส เกิดขึ้น เมื่ออกุศลดับไปแล้ว ตทารัมมณจิตอันเป็นวิบาก เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโต- *ปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๖๗๗] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้วพิจารณาทานเป็นต้นนั้น พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ในกาลก่อน ออกจากฌาน พิจารณาฌาน พระอริยบุคคลพิจารณาโคตรภู พิจารณาโวทาน พิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของ ไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พิจารณา โสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ และขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รู้จิตของบุคคลพร้อม- *เพรียงด้วยจิตที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยเจโตปริยญาณ อากาสานัญจายตนกุศล เป็นปัจจัยแก่วิญญาณัญจายตนะ อากิญจัญญายตนะ เป็น ปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ โดยอารัมมณปัจจัย รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อิทธิวิธญาณ แก่เจโตปริยญาณ แก่ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ แก่ยถากัมมุปคญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดย อารัมมณปัจจัย [๑๖๗๘] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อารัมมณปัจจัย คือ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้วยินดี เพลิดเพลินกุศลนั้น ปรารภกุศลนั้น มีราคะ ทิฏฐิ โทมนัส เกิดขึ้น ยินดีกุศลที่ได้สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ออก จากฌาน ยินดีฌาน ยินดีจักขุ ฯลฯ ยินดีโผฏฐัพพายตนะ ฯลฯ หทยวัตถุ และขันธ์ที่เป็น อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เพราะปรารภกุศลเป็นต้นนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น [๑๖๗๙] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล โดยอารัมมณปัจจัย [๑๖๘๐] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอารัมมณปัจจัย คือ พระอริยบุคคลออกจากมรรค พิจารณามรรค พิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย พระอริยบุคคลรู้จิตของบุคคลผู้ความพร้อมเพรียงด้วยจิตที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิก- *ธรรม ด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ แก่บุพเพนิวาสา- *นุสสติญาณ แก่อนาคตังสญาณ แก่อาวัชชนะ โดยอารัมมณปัจจัย [๑๖๘๑] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่บุคคลทำราคะให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้ว ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะกระทำราคะนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ทำทิฏฐิให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะทำทิฏฐิ นั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอธิปติปัจจัย [๑๖๘๒] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๖๘๓] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และ อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๖๘๔] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้ว กระทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำกุศลที่ตนสั่งสมไว้ดีแล้วในกาล ก่อนให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ออกจากฌาน กระทำฌานให้เป็นอารมณ์อย่าง หนักแน่น แล้วพิจารณา พระเสกขะ กระทำโคตรภูให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา กระทำโวทาน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วพิจารณา ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๖๘๕] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม แล้วทำกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง เพราะทำกุศลนั้น ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น กระทำกุศลที่สั่งสมไว้แล้วในกาลก่อน ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ออกจากฌาน กระทำฌาน- *ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง กระทำจักขุให้เป็นอารมณ์- *อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง กระทำโผฏฐัพพะ ฯลฯ หทยวัตถุและ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น แล้วย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง แล้วกระทำกุศลเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น มีราคะ ทิฏฐิ เกิดขึ้น [๑๖๘๖] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผล โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอธิปติปัจจัย [๑๖๘๗] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยบุคคลออกจากมรรค พิจารณามรรคให้- *เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณาผล ทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพาน ทำให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู แก่โวทาน โดยอธิปติปัจจัย ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๖๘๘] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมและ อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ สหชาตาธิปติ ที่เป็น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิปติธรรมที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย [๑๖๘๙] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย [๑๖๙๐] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย [๑๖๙๑] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็น- *อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลม- *เป็นปัจจัยแก่โวทาน อาวัชชนะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอนันตร- *ปัจจัย [๑๖๙๒] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ อาวัชชนะ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย [๑๖๙๓] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค อนุโลมเป็นปัจจัยแก่- *ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ โดยอนันตร- *ปัจจัย [๑๖๙๔] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์เป็นอสัง- *กิลิฏอสังกิเลสิกธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย มรรคเป็นปัจจัยแก่ผล ผลเป็นปัจจัยแก่ผล โดยอนันตรปัจจัย [๑๖๙๕] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอนันตรปัจจัย คือ ผลเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะ โดยอนันตรปัจจัย [๑๖๙๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยสมนันตรปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สหชาตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อัญญมัญญ ปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย นิสสยปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ อาศัยโทสะ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะ ฯลฯ แก่ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย ปาณาติบาตเป็นปัจจัยแก่ปาณาติบาต โดยอุปนิสสยปัจจัย นิยตมิจฉาทิฏฐิ เป็นปัจจัยแก่นิยตมิจฉาทิฏฐิ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๖๙๗] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะ ให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌาน วิปัสสนา อภิญญา สมาบัติ ให้เกิด อาศัยความปรารถนา ให้ทาน ยังสมาบัติให้เกิด ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ความสุขทางกาย ทุกข์ทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย บุคคลฆ่าสัตว์แล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม ยังฌาน วิปัสสนา อภิญญา และสมาบัติให้เกิด ทำลายสงฆ์แล้ว ให้ทาน สมาทานศีล ทำอุโบสถกรรม เพื่อ- *ต้องการกำจัดบาปนั้น อกุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๖๙๘] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว ปกตูนิสสยยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะ ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ อาศัยโทสะ ฯลฯ ความปรารถนา ยังมรรคให้เกิด เข้าผลสมาบัติ ราคะ ฯลฯ ความปรารถนา เป็นปัจจัยแก่มรรค แก่ผลสมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๖๙๙] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ให้ทาน ยังสมาบัติ ให้เกิด อาศัยศีล สุตะ จาคะ ปัญญา สุขทางกาย ทุกข์ทางกาย อุตุ โภชนะ เสนาสนะ ให้ทาน ยังสมาบัติได้เกิด ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา สุขทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย กุศลกรรม เป็นปัจจัยแก่วิบาก โดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมแห่งปฐมฌานเป็นปัจจัยแก่ปฐมฌาน อากิญจัญญายตนะ เป็นปัจจัยแก่เนวสัญญานาสัญญายตนะ [๑๗๐๐] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธา ถือมานะ ทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ เสนาสนะ ฆ่าสัตว์ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ เป็นปัจจัยแก่ราคะ ความปรารถนา โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๗๐๑] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บริกรรมแห่งปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ ทุติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรค ฯลฯ จตุตถมรรค โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๗๐๒] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ปฐมมรรค เป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ทุติยมรรค เป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ตติยมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรค จตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่ผล สมาบัติ โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๗๐๓] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ ปกตูปนิสสยะ ที่เป็น ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ พระอริยบุคคล อาศัยมรรค ยังสมาบัติ ที่ยังไม่เกิด ให้เกิด เข้าสมาบัติที่เกิดแล้ว พิจารณาเห็นสังขาร โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็น อนัตตา มรรคเป็นปัจจัยแก่อัตถปฏิสัมภิทา ธัมมปฏิสัมภิทา นิรุตติปฏิสัมภิทา ปฏิภาณปฏิ- *สัมภิทา ความฉลาดในฐานะและอฐานะ ของพระอริยเจ้าทั้งหลาย โดยอุปนิสสยปัจจัย ผลสมาบัติ เป็นปัจจัยแก่สุขทางกาย โดยอุปนิสสยปัจจัย [๑๗๐๔] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักขุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พิจารณาเห็นโสตะ ฆานะ ชิวหา กาย รูป เสียง กลิ่น รส โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียง ด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพายตนะ เป็นปัจจัยแก่กาย วิญญาณ ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยปุเรชาตปัจจัย หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอสังกิลิฏฐ- *สังกิเลสิกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๗๐๕] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาต วัตถุปุเรชาต ที่เป็น อารัมมณปุเรชาต ได้แก่ บุคคลย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งจักขุ เพราะปรารภจักขุนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น ย่อมยินดี ย่อมเพลิดเพลินยิ่ง ซึ่งโสตะ ฯลฯ โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ ปรารภโสตะเป็นต้นนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น ที่เป็น วัตถุปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเล- *สิกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย [๑๗๐๖] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยปุเรชาตปัจจัย คือ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยปุเรชาต- *ปัจจัย [๑๗๐๗] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๗๐๘] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๗๐๙] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยปัจฉาชาตปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรมที่เกิดภายหลัง เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิด- *ก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย [๑๗๑๐] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย อาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรมที่เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐ- *สังกิเลสิกธรรมที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย [๑๗๑๑] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ ขันธ์ที่เกิดก่อนๆ ฯลฯ อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน โดยอาเสวนปัจจัย [๑๗๑๒] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอาเสวนปัจจัย คือ โคตรภู เป็นปัจจัยแก่มรรค โวทาน เป็นปัจจัยแก่มรรค โดยอาเสวนปัจจัย [๑๗๑๓] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย [๑๗๑๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย [๑๗๑๕] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และ อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยกัมมปัจจัย คือ เจตนาที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๗๑๖] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐสังเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตต- *ขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่- *วิบากขันธ์ และกฏัตตารูป โดยกัมมปัจจัย [๑๗๑๗] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต นานาขณิก ที่เป็น สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่- *สัมปยุตตขันธ์ โดยกัมมปัจจัย ที่เป็น นานาขณิก ได้แก่ เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย- *แก่ขันธ์ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก โดยกัมมปัจจัย [๑๗๑๘] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๗๑๙] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเสสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยกัมมปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาต ได้แก่ เจตนาที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น- *ปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยกัมมปัจจัย [๑๗๒๐] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๑ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่- *หทยวัตถุ โดยวิปากปัจจัย [๑๗๒๑] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ [๑๗๒๒] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม ซึ่งเป็นวิบาก เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏ- *ฐานรูป โดยวิปากปัจจัย [๑๗๒๓] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยวิปากปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปากปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๗๒๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย [๑๗๒๕] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอาหารปัจจัย คือ อาหารที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ กวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอาหาร- *ปัจจัย ฯลฯ [๑๗๒๖] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอาหารปัจจัย มี ๓ นัย [๑๗๒๗] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอินทริยปัจจัย มี ๓ นัย อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอินทริย ปัจจัย คือ อินทรีย์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และ- *จิตตสมุฏฐานรูป โดยอินทริยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ จักขุนทรีย์ เป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่- *กายวิญญาณ โดยอินทริยปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอินทริยปัจจัย อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม มี ๓ นัย [๑๗๒๘] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย ฌานปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย สัมปยุตตปัจจัย [๑๗๒๙] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๗๓๐] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ขันธ์ทั้งหลายเป็นปัจจัยแก่หทยวัตถุ หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ทั้งหลาย โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยวิปปยุตตปัจจัย หทยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐ- *สังกิเลสิกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๗๓๑] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐ- *สังกิเลสิกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๗๓๒] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐ- *อสังกิเลสิกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๗๓๓] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยวิปปยุตตปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยวิปปยุตตปัจจัย [๑๗๓๔] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ [๑๗๓๕] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๓๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และ อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏ- *ฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๗๓๗] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สำหรับพวกอสัญญสัตว์ มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ที่เป็น ปุเรชาต ได้แก่ บุคคลพิจารณาเห็นจักษุ โดยความไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา พิจารณาโสตะ ฯลฯ กาย รูป โผฏฐัพพะ หทยวัตถุ โดยความเป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา เห็นรูปด้วยทิพพจักษุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะ เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ โผฏฐัพพยายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ โดยอัตถิปัจจัย จักขายตนะ เป็น ปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ทั้งหลายที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย แก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย กวฬิงการาหาร ๑- เป็นปัจจัยแก่กายนี้ รูปชีวิตินทรีย์ ๒- เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๓๘] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่บุคคลยินดี เพลิดเพลินจักษุ ปรารภจักษุนั้น มีราคะ โทมนัส เกิดขึ้น ยินดีหทยวัตถุ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเล- *สิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๓๙] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาต ได้แก่ หทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐ- *อสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๔๐] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ โดย อัตถิปัจจัย [๑๗๔๑] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต @๑. บาลีตก คำว่า อาหาร ๒. บาลีตก คำว่า อินทริย ข้างหน้า ซึ่งหมายความว่า ที่เป็นอาหาร @ที่เป็นอินทริย ได้แก่ ... ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่จิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๔๒] อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย คือ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- *สมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๔๓] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๔๔] อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม เป็น ปัจจัยแก่อสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอสังกิลิฏฐอสังกิเลสิกธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๔๕] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย แก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาต ปุเรชาต ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และหทยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๒ ฯลฯ [๑๗๔๖] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัย แก่อสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดยอัตถิปัจจัย มี ๔ อย่าง คือ สหชาต ปัจฉาชาต อาหาร อินทริย ที่เป็น สหชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และมหาภูตรูป เป็น ปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และกวฬิงการาหาร เป็นปัจจัยแก่กายนี้ ที่เกิดก่อน โดยอัตถิปัจจัย ที่เป็น ปัจฉาชาต ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม และรูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป โดยอัตถิปัจจัย [๑๗๔๗] สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม เป็นปัจจัยแก่สังกิลิฏฐสังกิเลสิกธรรม โดย นัตถิปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย วิคตปัจจัย ฯลฯ เป็นปัจจัยโดย อวิคตปัจจัย [๑๗๔๘] ในเหตุปัจจัย มีวาระ ๗ ในอารัมมณปัจจัย มี " ๖ ในอธิปติปัจจัย มี " ๘ ในอนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสมนันตรปัจจัย มี " ๗ ในสหชาตปัจจัย มี " ๙ ในอัญญมัญญปัจจัย มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย มี " ๑๓ ในอุปนิสสยปัจจัย มี " ๘ ในปุเรชาตปัจจัย มี " ๓ ในปัจฉาชาตปัจจัย มี " ๓ ในอาเสวนปัจจัย มี " ๓ ในกัมมปัจจัย มี " ๗ ในวิปากปัจจัย มีวาระ ๔ ในอาหารปัจจัย มี " ๗ ในอินทริยปัจจัย มี " ๗ ในฌานปัจจัย มี " ๗ ในมัคคปัจจัย มี " ๗ ในสัมปยุตตปัจจัย มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย มี " ๕ ในอัตถิปัจจัย มี " ๑๓ ในนัตถิปัจจัย มี " ๗ ในอวิคตปัจจัย มี " ๗ ในวิคตปัจจัย มี " ๑๓ [๑๗๔๙] ในอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มีวาระ ๔ ในสหชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มีวาระ ๗ ในอัญญมัญญปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในนิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ ในวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในอินทริยปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในมัคคปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๔ ในสัมปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๓ ในอัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี " ๗ [๑๗๕๐] ปัจจัย ๕ คือ เหตุ สหชาต นิสสย อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย สัมปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ ปัจจัย ๖ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก สัมปยุตต อัตถิ และ อวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๗ คือ เหตุ สหชาต นิสสย วิปาก วิปปยุตต อัตถิ และอวิคตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจจัย ๘ คือ เหตุ สหชาต อัญญมัญญ นิสสย วิปาก วิปปยุตต อัตถิ และ อวิคตปัจจัย มี ๑ วาระ ในกุสลัตติกะให้พิสดารแล้วอย่างไร พึงให้พิสดารอย่างนั้น
อนุโลม (จบ)

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๔๐ บรรทัดที่ ๒๐๐๐๖-๒๐๕๑๙ หน้าที่ ๗๙๔-๘๑๔. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=20006&Z=20519&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=40&A=20006&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=179              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1668              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=40&A=11062              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=40&A=11062              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_40

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]