ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎก เล่มที่ ๒ วิภังคปกรณ์
สัญญาขันธ์
สัญญาขันธ์ เป็นไฉน
[ทุกมูลกวาร]
[๕๔] สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต สัญญาขันธ์หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็น อัพยากฤต สัญญาขันธ์หมวดละ ๔ คือ สัญญาขันธ์เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจร เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ สัญญาขันธ์หมวดละ ๕ คือ สัญญาขันธ์เป็นสุขินทริยสัมปยุต เป็น ทุกขินทริยสัมปยุต เป็นโสมนัสสินทริยสัมปยุต เป็นโทมนัสสินทริยสัมปยุต เป็นอุเปกขินทริยสัมปยุต สัญญาขันธ์หมวดละ ๖ คือ จักขุสัมผัสสชาสัญญา โสตสัมผัสสชา- *สัญญา ฆานสัมผัสสชาสัญญา ชิวหาสัมผัสสชาสัญญา กายสัมผัสสชาสัญญา นโนสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์หมวดละ ๖ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๗ คือ จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ กายสัมผัสสชา- *สัญญา มโนธาตุสัมผัสสชาสัญญา มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์หมวดละ ๗ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๘ คือ จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ สุขสหคต- *กายสัมผัสสชาสัญญา ทุกขสหคตกายสัมผัสสชาสัญญา มโนธาตุสัมผัสสชา- *สัญญา มโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์หมวดละ ๘ ด้วย ประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๙ คือ จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ กายสัมผัสสชา- *สัญญา มโนธาตุสัมผัสสชาสัญญา กุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสัญญา อกุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสัญญา อัพยากตมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชา- *สัญญา สัญญาขันธ์หมวดละ ๙ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ คือ จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ สุขสหคต- *กายสัมผัสสชาสัญญา ทุกขสหคตกายสัมผัสสชาสัญญา มโนธาตุสัมผัสสชา- *สัญญา กุสลมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสัญญา อกุสลมโนวิญญาณธาตุ สัมผัสสชาสัญญา อัพยากตมโนวิญญาณธาตุสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์ หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ [๕๕] สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ. สัญญา- *ขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นสุขเวทนาสัมปยุต เป็นทุกขเวทนาสัมปยุต เป็นอทุกขมสุขเวทนาสัมปยุต สัญญาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็น เนววิปากนวิปากธัมมธรรม สัญญาขันธ์เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นอนุปาทินนุ- *ปาทานิยะ เป็นอนุปาทินนานุปาทานิยะ สัญญาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะ สัญญาขันธ์เป็นสวิตักก- *สวิจาระ เป็นอวิตักกวิจารมัตตะ เป็นอวิตักกาวิจาระ สัญญาขันธ์เป็นปีติสหคตะ เป็นสุขสหคตะ เป็นอุเปกขาสหคตะ สัญญาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็น ภาวนาปหาตัพพะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพะ สัญญาขันธ์เป็นทัสสน- *ปหาตัพพเหตุกะ เป็นภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพ- *เหตุกะ สัญญาขันธ์เป็นอาจยคามี เป็นอปจยคามี เป็นเนวาจยคามินาปจยคามี สัญญาขันธ์เป็นเสกขะ เป็นอเสกขะ เป็นเนวเสกขนาเสกขะ สัญญาขันธ์ เป็นปริตตะ เป็นมหัคคตะ เป็นอัปปมาณะ สัญญาขันธ์เป็นปริตตารัมมณะ เป็นมหัคคตารัมมณะ เป็นอัปปมาณารัมมณะ สัญญาขันธ์เป็นหีนะ เป็นมัชฌิมะ เป็นปณีตะ สัญญาขันธ์เป็นมิจฉัตตนิยตะ เป็นสัมมัตตนิยตะ เป็นอนิยตะ สัญญาขันธ์เป็นมัคคารัมมณะ เป็นมัคคเหตุกะ เป็นมัคคาธิปติ สัญญาขันธ์ เป็นอุปปันนะ เป็นอนุปปันนะ เป็นอุปปาที สัญญาขันธ์เป็นอดีต เป็นอนาคต เป็นปัจจุบัน สัญญาขันธ์เป็นอตีตารัมมณะ เป็นอนาคตารัมมณะ เป็นปัจจุปปันนา รัมมณะ สัญญาขันธ์เป็นอัชฌัตตะ เป็นพหิทธา เป็นอัชฌัตตพหิทธา สัญญาขันธ์ เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็นอัชฌัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ [๕๖] สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นเหตุสัมปยุต เป็นเหตุวิปปยุต สัญญา ขันธ์เป็นนเหตุสเหตุกะ เป็นนเหตุอเหตุกะ สัญญาขันธ์เป็นโลกิยะ เป็นโลกุตตระ สัญญาขันธ์เป็นเกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจินวิญเญยยะ สัญญาขันธ์เป็นสาสวะ เป็นอนาสวะ สัญญาขันธ์เป็นอาสวสัมปยุต เป็นอาสววิปปยุต สัญญาขันธ์เป็น อาสววิปปยุตสาสวะ เป็นอาสววิปปยุตตอนาสวะ สัญญาขันธ์เป็นสัญโญชนิยะ เป็นอสัญโญชนิยะ สัญญาขันธ์เป็นสัญโญชนสัมปยุต เป็นสัญโญชนวิปปยุต สัญญาขันธ์เป็นสัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยะ เป็นสัญโญชนวิปปยุตตอสัญโญช- *นิยะ สัญญาขันธ์เป็นคันถนิยะ เป็นอคันถนิยะ สัญญาขันธ์เป็นคันถสัมปยุต เป็นคันถวิปปยุต สัญญาขันธ์เป็นคันถวิปปยุตตคันถนิยะ สัญญาขันธ์เป็นคันถ- *วิปปยุตตอคันถนิยะ สัญญาขันธ์เป็นโอฆนิยะ เป็นอโนฆนิยะ สัญญาขันธ์เป็น โอฆสัมปยุต เป็นโอฆวิปปยุต สัญญาขันธ์เป็นโอฆวิปปยุตตโอฆนิยะ เป็น โอฆวิปปยุตตอโนฆนิยะ สัญญาขันธ์เป็นโยคนิยะ เป็นอโยคนิยะ สัญญาขันธ์ เป็นโยคสัมปยุต เป็นโยควิปปยุต สัญญาขันธ์เป็นโยควิปปยุตตโยคนิยะ เป็น โยควิปปยุตตอโยคนิยะ สัญญาขันธ์เป็นนีวรณิยะ เป็นอนีวรณียะ สัญญาขันธ์ เป็นนีวรณสัมปยุต เป็นนีวรณวิปปยุต สัญญาขันธ์เป็นนีวรณวิปปยุตตนีวรณิยะ เป็นนีวรณวิปปยุตตอนีวรณิยะ สัญญาขันธ์เป็นปรามัฏฐะ เป็นอปรามัฏฐะ สัญญาขันธ์เป็นปรามาสสัมปยุต เป็นปรามาสวิปปยุต สัญญาขันธ์เป็นปรามาส- *วิปปยุตตปรามัฏฐะ เป็นปรามาสวิปปยุตตอปรามัฏฐะ สัญญาขันธ์เป็นอุปาทินนะ เป็นอนุปาทินนะ สัญญาขันธ์เป็นอุปาทานิยะ เป็นอนุปาทานิยะ สัญญาขันธ์ เป็นอุปาทานสัมปยุต เป็นอุปาทานวิปปยุต สัญญาขันธ์เป็นอุปาทานวิปปยุตต- *อุปาทานิยะ เป็นอุปาทานวิปปยุตตอนุปาทานิยะ สัญญาขันธ์เป็นสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิเลสิกะ สัญญาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐะ เป็นอสังกิลิฏฐะ สัญญาขันธ์ เป็นกิเลสสัมปยุต เป็นกิเลสวิปปยุต สัญญาขันธ์เป็นกิเลสวิปปยุตตสังกิเลสิกะ เป็นกิเลสวิปปยุตตอสังกิเลสิกะ สัญญาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็น นทัสสนปหาตัพพะ สัญญาขันธ์เป็นภาวนาปหาตัพพะ เป็นนภาวนาปหาตัพพะ สัญญาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพเหตุกะ เป็นนทัสสนปหาตัพพเหตุกะ สัญญาขันธ์ เป็นภาวนาปหาตัพพเหตุกะ เป็นนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ สัญญาขันธ์เป็น สวิตักกะ เป็นอวิตักกะ สัญญาขันธ์เป็นสวิจาระ เป็นอวิจาระ สัญญาขันธ์ เป็นสัปปีติกะ เป็นอัปปีติกะ สัญญาขันธ์เป็นปีติสหคตะ เป็นนปีติสหคะ สัญญาขันธ์เป็นสุขสหคตะ เป็นนสุขสหคตะ สัญญาขันธ์เป็นอุเปกขาสหคตะ เป็นนอุเปกขาสหคตะ สัญญาขันธ์เป็นกามาวจร เป็นนกามาวจร สัญญาขันธ์ เป็นรูปาวจร เป็นนรูปาวจร สัญญาขันธ์เป็นอรูปาวจร เป็นนอรูปาวจร สัญญาขันธ์ เป็นปริยาปันนะ เป็นอปริยาปันนะ สัญญาขันธ์เป็นนิยยานิกะ เป็นอนิยยานิกะ สัญญาขันธ์เป็นนิยตะ เป็นอนิยตะ สัญญาขันธ์เป็นสอุตตระ เป็นอนุตตระ สัญญาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์ เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย ประการฉะนี้ [๕๗] สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นสุขเวทนาสัมปยุต เป็นทุกขเวทนาสัมปยุต เป็น อทุกขมสุขเวทนาสัมปยุต ฯลฯ สัญญาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธา- *รัมมณะ เป็นอัชฌัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย ประการฉะนี้
ทุกมูลกวาร จบ
[ติกมูลกวาร]
[๕๘] สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สัญญา- *ขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวด ละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นสุขเวทนาสัมปยุต เป็นทุกขเวทนาสัมปยุต เป็นอทุกข- *มสุขเวทนาสัมปยุต ฯลฯ สัญญาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมณะ เป็นอัชฌัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสรณะ เป็นอรณะ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นสุขเวทนาสัมปยุต เป็นทุกขเวทนาสัมปยุต เป็นอทุกขมสุข- *เวทนาสัมปยุต ฯลฯ สัญญาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็น อัชฌัตตพหิทธารัมมณะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
ติกมูลกวาร จบ
[อุภโตวัฑฒกวาร]
[๕๙] สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสเหตุกะ เป็นอเหตุกะ. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต ฯลฯ สัญญา- *ขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นเหตุสัมปยุต เป็นเหตุวิปปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นสุขเวทนาสัมปยุต เป็นทุกขเวทนาสัมปยุต เป็น อทุกขมสุขเวทนาสัมปยุต ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นนเหตุสเหตุกะ เป็นนเหตุอเหตุกะ. สัญญา- *ขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นวิบาก เป็นวิปากธัมมธรรม เป็นเนววิปาก- *นวิปากธัมมธรรม ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นโลกิยะ เป็นโลกุตตระ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นอุปาทินนุปาทานิยะ เป็นอนุปาทินนุปาทานิยะ เป็น อนุปาทินนานุปาทานิยะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นเกนจิวิญเญยยะ เป็นเกนจินวิญเญยยะ. สัญญา- *ขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นสังกิลิฏฐสังกิเลสิกะ เป็นอสังกิลิฏฐสังกิเล- *สิกะ เป็นอสังกิลิฏฐาสังกิเลสิกะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสาสวะ เป็นอนาสวะ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นสวิตักกสวิจาระ เป็นอวิตักกวิจารมัตตะ เป็นอวิตักกา- *วิจาระ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นอาสวสัมปยุต เป็นอาสววิปปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นปีติสหคตะ เป็นสุขสหคตะ เป็นอุเปกขา- *สหคตะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นอาสววิปปยุตตสาสวะ เป็นอาสววิปปยุตต- *อนาสวะ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพะ เป็น ภาวนาปหาตัพพะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวด ละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสัญโญชนิยะ เป็นอสัญโญชนิยะ สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นทัสสนปหาตัพพเหตุกะ เป็นภาวนาปหาตัพพ- *เหตุกะ เป็นเนวทัสสนนภาวนาปหาตัพพเหตุกะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสัญโญชนสัมปยุต เป็นสัญโญชนวิปปยุต. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นอาจยคามี เป็นอปจยคามี เป็น เนวาจยคามินาปจยคามี ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นสัญโญชนวิปปยุตตสัญโญชนิยะ เป็นสัญโญชน- วิปปยุตตอสัญโญชนิยะ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นเสกขะ เป็นอเสกขะ เป็นเนวเสกขนาเสกขะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วย ประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นคันถนิยะ เป็นอคันถนิยะ. สัญญาขันธ์หมวด ละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นปริตตะ เป็นมหัคคตะ เป็นอัปปมาณะ ฯลฯ สัญญา- *ขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นคันถสัมปยุต เป็นคันถวิปปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นปริตตารัมมณะ เป็นมหัคคตารัมมณะ เป็น อัปปมาณารัมมณะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นคันถวิปปยุตตคันถนิยะ เป็นคันถวิปปยุตต- *อคันถนิยะ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นหีนะ เป็นมัชฌิมะ เป็นปณีตะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นโอฆนิยะ เป็นอโนฆนิยะ. สัญญาขันธ์หมวด ละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นมิจฉัตตนิยตะ เป็นสัมมัตตนิยตะ เป็นอนิยตะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นโอฆะสัมปยุต เป็นโอฆะวิปปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นมัคคารัมมณะ เป็นมัคคเหตุกะ เป็นมัคคาธิปติ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นโอฆวิปปยุตตโอฆนิยะ เป็นโอฆวิปปยุตต- *อโนฆนิยะ สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นอุปปันนะ เป็นอนุปปันนะ เป็นอุปปาที ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นโยคนิยะ เป็นอโยคนิยะ สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นอดีต เป็นอนาคต เป็นปัจจุบัน ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นโยคสัมปยุต เป็นโยควิปปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นอตีตารัมมณะ เป็นอนาคตารัมมณะ เป็น ปัจจุปปันนารัมมณะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นโยควิปปยุตตโยคนิยะ เป็นโยควิปปยุตต- *อโยคนิยะ สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นอัชฌัตตะ เป็นพหิทธา เป็นอัชฌัตตพหิทธา ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑ คือ สัญญาขันธ์เป็นผัสสสัมปยุต. สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒ คือ สัญญาขันธ์เป็นนีวรณิยะ เป็นอนีวรณิยะ. สัญญาขันธ์หมวดละ ๓ คือ สัญญาขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็นอัชฌัตต- *พหิทธารัมมณะ ฯลฯ สัญญาขันธ์หมวดละ ๑๐ ด้วยประการฉะนี้
อุภโตวัฑฒกวาร จบ
[พหุวิธวาร]
[๖๐] สัญญาขันธ์หมวดละ ๗ คือ สัญญาขันธ์เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจร เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ สัญญาขันธ์หมวดละ ๗ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๗ อีกอย่างหนึ่ง คือ สัญญาขันธ์เป็นสุขเวทนา- *สัมปยุต เป็นทุกขเวทนาสัมปยุต เป็นอทุกขมสุขเวทนาสัมปยุต ฯลฯ สัญญา- *ขันธ์เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็นอัชฌัตตพหิทธารัมมณะ เป็น กามาวจร เป็นรูปาวจร เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ สัญญาขันธ์หมวดละ ๗ ด้วยประการฉะนี้ [๖๑] สัญญาขันธ์หมวดละ ๒๔ คือ สัญญาขันธ์เพราะจักขุสัมผัสเป็น ปัจจัย เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต สัญญาขันธ์เพราะโสตสัมผัสเป็น ปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะฆานสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะ ชิวหาสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะกายสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญา- *ขันธ์เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต จักขุ- *สัมผัสสชาสัญญา โสตสัมผัสสชาสัญญา ฆานสัมผัสสชาสัญญา ชิวหา- *สัมผัสสชาสัญญา กายสัมผัสสชาสัญญา มโนสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์ หมวดละ ๒๔ ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละ ๒๔ อีกอย่างหนึ่ง คือสัญญาขันธ์เพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย เป็นสุขเวทนาสัมปยุต เป็นทุกขเวทนาสัมปยุต เป็นอทุกขมสุขเวทนา- *สัมปยุต ฯลฯ เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็นอัชฌัตตพหิทธา- *รัมมณะ สัญญาขันธ์เพราะโสตสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะฆาน- *สัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะชิวหาสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์ เพราะกายสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เป็น อัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็นอัชฌัตตพหิทธารัมมณะ จักขุ- *สัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์หมวดละ ๒๔ ด้วย ประการฉะนี้ [๖๒] สัญญาขันธ์หมวดละ ๓๐ คือ สัญญาขันธ์เพราะจักขุสัมผัสเป็น ปัจจัย เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจร เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ สัญญาขันธ์ เพราะโสตสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะฆานสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะชิวหาสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะกายสัมผัสเป็น ปัจจัย สัญญาขันธ์เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจร เป็น อรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์หมวดละ ๓๐ ด้วยประการฉะนี้ [๖๓] สัญญาขันธ์หมวดละมากอย่าง คือ สัญญาขันธ์เพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจร เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ สัญญาขันธ์เพราะโสตสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะฆานสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะชิวหาสัมผัสเป็น ปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะกายสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะมโน- *สัมผัสเป็นปัจจัย เป็นกุศล เป็นอกุศล เป็นอัพยากฤต เป็นกามาวจร เป็น รูปาวจร เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ มโน- *สัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์หมวดละมากอย่าง ด้วยประการฉะนี้ สัญญาขันธ์หมวดละมากอย่างอีกอย่างหนึ่ง คือ สัญญาขันธ์เพราะจักขุ- *สัมผัสเป็นปัจจัย เป็นสุขเวทนาสัมปยุต เป็นทุกขเวทนาสัมปยุต เป็นอทุกขม- *สุขเวทนาสัมปยุต ฯลฯ เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็น อัชฌัตตพหิทธารัมมณะ เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจร เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ สัญญาขันธ์เพราะโสตสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะฆานสัมผัสเป็น ปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะชิวหาสัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะกาย สัมผัสเป็นปัจจัย ฯลฯ สัญญาขันธ์เพราะมโนสัมผัสเป็นปัจจัย เป็นอัชฌัตตารัมมณะ เป็นพหิทธารัมมณะ เป็นอัชฌัตตพหิทธารัมมณะ เป็นกามาวจร เป็นรูปาวจร เป็นอรูปาวจร เป็นอปริยาปันนะ จักขุสัมผัสสชาสัญญา ฯลฯ มโนสัมผัสสชาสัญญา สัญญาขันธ์หมวดละมากอย่าง ด้วยประการฉะนี้ สภาวธรรมนี้เรียกว่า สัญญาขันธ์
พหุวิธวาร จบ

             เนื้อความพระไตรปิฎก เล่มที่ ๓๕ บรรทัดที่ ๗๐๒-๙๖๑ หน้าที่ ๓๑-๔๒. http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=35&A=702&Z=961&pagebreak=0 http://84000.org/tipitaka/read/r.php?B=35&A=702&pagebreak=0              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ :- http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=35&siri=4              ศึกษาอรรถกถาได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=35&i=54              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/read/pali_read.php?B=35&A=642              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/read/roman_read.php?B=35&A=642              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ http://84000.org/tipitaka/read/?index_35              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/vb1/en/thittila#pts-s62

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วแสดงหมายเลขหน้า
ในกรณี :- 
   บรรทัดแรกชองแต่ละหน้าอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. บันทึก ๓๐ มกราคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]