ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๗๔. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ
๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลมเป็นต้น
เหตุปัจจัย
[๑๑๖] สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัย สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๔๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๗๔. อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ ๑. ปฏิจจวาร

ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัย สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทาน และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ อาศัยขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรม ที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่วิปปยุตจากอุปาทาน และไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่วิปปยุตจาก อุปาทานไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้น ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานอาศัยสภาวธรรม ที่วิปปยุตจากอุปาทานแต่เป็นอารมณ์ของอุปาทานและที่วิปปยุตจากอุปาทานไม่เป็น อารมณ์ของอุปาทานเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ วิปปยุตจากอุปาทานและไม่เป็นอารมณ์ของอุปาทาน และอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) เหตุปัจจัย มี ๕ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
(ทุกะนี้เหมือนกับโลกิยทุกะในจูฬันตรทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน)
อุปาทานวิปปยุตตอุปาทานิยทุกะ จบ
อุปาทานโคจฉกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๓๕๐}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๓๔๙-๓๕๐. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=57              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=7871&Z=7896                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=477&items=2              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=477&items=2                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :