ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๑๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๔
๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๓๓๐] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน โดยเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ (เหมือนกับนิยยานิกทุกะ ไม่มีข้อแตกต่างกัน) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อารัมมณปัจจัย
[๓๓๑] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย อาการทั้งสองนั้น โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้ว พิจารณามรรค พิจารณากิเลสที่ให้ผลแน่นอนซึ่งละได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ รู้จิตของบุคคลผู้มี ความพรั่งพร้อมด้วยจิตที่ให้ผลแน่นอนด้วยเจโตปริยญาณ ขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนเป็น ปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังส- ญาณและอาวัชชนจิต โดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน โดยอาการทั้งสองนั้น โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษา อุโบสถ ฯลฯ พิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌานแล้วพิจารณาฌาน ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินฌานนั้น ราคะที่ให้ผลไม่แน่ นอนจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ อุทธัจจะ ฯลฯ โทมนัสที่ให้ผลไม่ แน่นอนจึงเกิดขึ้น พระอริยะพิจารณาผล พิจารณานิพพาน นิพพานเป็นปัจจัยแก่ โคตรภู โวทาน ผล และอาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย พระอริยะพิจารณากิเลส ที่ให้ผลไม่แน่นอนซึ่งละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น ฯลฯ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ให้ผลไม่แน่นอนโดยเป็นสภาวะไม่ เที่ยง ฯลฯ ยินดีเพลิดเพลิน เพราะปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะ ฯลฯ โทมนัสจึงเกิดขึ้น บุคคลเห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ อาวัชชนจิตโดยอารัมมณปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผล แน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ นิพพานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดยอารัมมณปัจจัย รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ปิตุฆาตกรรม อรหันตฆาตกรรม และ โรหิตุปปาทกรรมโดยอารัมมณปัจจัย ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและให้ผลแน่นอนของ บุคคลผู้ยึดมั่นหทัยวัตถุใดเกิดขึ้น หทัยวัตถุนั้นเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีสภาวะผิดและ ให้ผลแน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย
[๓๓๒] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน โดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ให้ผลแน่นอน เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองนั้นโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ พระอริยะออกจากมรรคแล้วพิจารณามรรคให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยอธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนและที่ให้ ผลไม่แน่นอนโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรม ที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย (๓) [๓๓๓] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยอธิปติปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณาธิปติ และสหชาตาธิปติ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ บุคคลให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถแล้ว พิจารณากุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ยินดีเพลิดเพลิน เพราะทำความยินดี เพลิดเพลินกุศลนั้นให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น ราคะที่ให้ผลไม่แน่นอนจึงเกิดขึ้น ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ บุคคลพิจารณากุศลที่เคยสั่งสมไว้ดีแล้ว ฯลฯ ออกจากฌาน ฯลฯ พระอริยะพิจารณาผลให้เป็นอารมณ์อย่างหนักแน่น พิจารณานิพพานให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น นิพพานเป็นปัจจัยแก่โคตรภู โวทาน และผลโดยอธิปติปัจจัย บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ และขันธ์ที่ให้ผลไม่แน่นอนให้เป็น อารมณ์อย่างหนักแน่น เพราะทำความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้นให้เป็นอารมณ์ อย่างหนักแน่น ราคะที่ให้ผลไม่แน่นอนจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตาธิปติ ได้แก่ อธิบดีธรรมที่ให้ผลไม่แน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอธิปติปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ ผลแน่นอนโดยอธิปติปัจจัย มีอย่างเดียว คือ อารัมมณาธิปติ ได้แก่ นิพพานเป็น ปัจจัยแก่มรรคโดยอธิปติปัจจัย (๒)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๓๔] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดย อาการทั้งสองนั้นโดย อนันตรปัจจัย ได้แก่ มรรคเป็นปัจจัยแก่ผลโดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่ นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ให้ผลไม่แน่นอนซึ่งเกิด ก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ให้ผลไม่แน่นอนซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ผลเป็นปัจจัยแก่ผล อนุโลมเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติ เนวสัญญานาสัญญายตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธ เป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ ผลแน่นอนโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โทมนัสที่ให้ผลไม่แน่นอนเป็นปัจจัยแก่โทมนัส ที่ให้ผลแน่นอน มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลไม่แน่นอนเป็นปัจจัยแก่มิจฉาทิฏฐิที่ให้ผลแน่ นอนโดยอนันตรปัจจัย โคตรภูเป็นปัจจัยแก่มรรค โวทานเป็นปัจจัยแก่มรรคโดย อนันตรปัจจัย (๒) ... เป็นปัจจัยโดยสมนันตรปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อุปนิสสยปัจจัย
[๓๓๕] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ มาตุฆาตกรรมเป็น ปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ปิตุฆาตกรรม อรหันตฆาตกรรม โรหิตุปปาทกรรม สังฆเภทกรรม และนิยตมิจฉาทิฏฐิโดยอุปนิสสยปัจจัย (พึงผูกเป็นจักกนัย) ปฐมมรรคเป็นปัจจัยแก่ทุติยมรรค ฯลฯ ทุติยมรรคเป็นปัจจัยแก่ตติยมรรค ฯลฯ ตติยมรรคเป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองนั้นโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลปลงชีวิตมารดาแล้ว ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ประสงค์จะลบล้างกรรมชั่วนั้น จึงให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ พระอริยะ อาศัยมรรคแล้ว ทำสมาบัติที่ยังไม่เกิดให้เกิดขึ้น เข้าสมาบัติที่เกิดขึ้นแล้ว ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความเป็นผู้ฉลาดในฐานะและมิใช่ฐานะโดยอุปนิสสยปัจจัย มรรคเป็น ปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) [๓๓๖] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้น โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาที่ให้ผลไม่แน่นอนแล้ว ให้ทาน สมาทานศีล รักษาอุโบสถ ฯลฯ ทำฌาน ฯลฯ วิปัสสนา ฯลฯ อภิญญา ฯลฯ สมาบัติให้เกิดขึ้น มีมานะ ถือทิฏฐิ อาศัยศีลที่ให้ผลไม่แน่นอน ฯลฯ ปัญญา ... ราคะ ... ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ฯลฯ เสนาสนะแล้ว ให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ฆ่าสัตว์ ฯลฯ ฆ่าชาวนิคม ฯลฯ ศรัทธาที่ ให้ผลไม่แน่นอน ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธาที่ให้ผลไม่แน่นอน ฯลฯ ความปรารถนา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย และผลสมาบัติโดย อุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผล แน่นอนโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่ให้ผลไม่แน่นอนแล้ว ปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์อาศัยโทมนัสที่ให้ผลไม่แน่นอน ฯลฯ เสนาสนะแล้วปลงชีวิตมารดา ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ราคะที่ให้ผลไม่แน่นอน โทมนัส ฯลฯ เสนาสนะเป็นปัจจัยแก่ มาตุฆาตกรรม ฯลฯ สังฆเภทกรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย บริกรรมปฐมมรรคเป็น ปัจจัยแก่ปฐมมรรค ฯลฯ บริกรรมจตุตถมรรค เป็นปัจจัยแก่จตุตถมรรคโดย อุปนิสสยปัจจัย (๒)
ปุเรชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๓๗] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณ- ปุเรชาตะ และวัตถุปุเรชาตะ (ย่อ) สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผล แน่นอนโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่มาตุฆาตกรรม ปิตุฆาตกรรม อรหันตฆาตกรรม โรหิตุปปาทกรรมโดยปุเรชาตปัจจัย วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ให้ผลแน่นอนโดย ปุเรชาตปัจจัย (๒) ... เป็นปัจจัยโดยปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ
กัมมปัจจัย
[๓๓๘] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย กัมมปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองนั้นโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย กัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและ กฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (พึงเพิ่มบทที่เป็นมูล) เจตนาที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัย แก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอน โดยอาการทั้งสองนั้นโดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ (ย่อ) ... เป็นปัจจัยโดยวิปากปัจจัย มี ๑ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอาหารปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยอินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยมัคคปัจจัย มี ๔ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ... เป็นปัจจัยโดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (เหมือนกับอรูปทุกะ) ... เป็นปัจจัยโดยอัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ (เหมือนกับอรูปาวจรทุกะ) ... เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยวิคตปัจจัย ... เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๓๓๙] เหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

อนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๔ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๒ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๔ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๔ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๔ วาระ ฌานปัจจัย มี ๔ วาระ มัคคปัจจัย มี ๔ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ
๒. ปัจจนียุทธาร
[๓๔๐] สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอน โดยสหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการ ทั้งสองนั้นโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนและที่ไม่ แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยสหชาตปัจจัย (๓) [๓๔๑] สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และอินทรียปัจจัย สภาวธรรมที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ให้ผล แน่นอนโดยอารัมมณปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนโดยสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัย สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนและที่ไม่แน่นอนโดยอาการทั้งสองนั้นเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่ให้ผลแน่นอนโดยสหชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย อาหารปัจจัย และ อินทรียปัจจัย (๒)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๓๔๒] นเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๗ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๖ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๗ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ทุกปัฏฐาน]

๙๘. นิยตทุกะ ๗. ปัญหาวาร

นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๔ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๔ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๗ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๔ วาระ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๓๔๓] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฯลฯ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๓๔๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงขยายบทอนุโลมมาติกาให้พิสดาร) ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๗ วาระ
นิยตทุกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๓ หน้า : ๖๓๑}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๓ หน้าที่ ๖๒๒-๖๓๑. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=43&siri=117              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=43&A=14148&Z=14360                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=43&i=0              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=43&item=841&items=12              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=43&item=841&items=12                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๓ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu43



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :