ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ เกิดระคนกับ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะ เกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ เหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอัปปมาณะ ฯลฯ เกิดระคน กับขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อารัมมณปัจจัยเป็นต้น
[๔๓] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ อารัมมณปัจจัย เพราะอธิปติปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอนันตรปัจจัย เพราะ สมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย เพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย (ไม่มีปฏิสนธิ) เพราะอาเสวนปัจจัย (ไม่มีทั้งวิบากและปฏิสนธิ) เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปากปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
[๔๔] เหตุปัจจัย มี ๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

อธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ นเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นปริตตะ ฯลฯ เกิดระคนกับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ฯลฯ โมหะที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดระคนกับขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะ (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ นอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ เกิดระคน กับขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ ... เกิด ระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ นอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็น อัปปมาณะ (๑)
นปุเรชาตปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะนปุเร- ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๓๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนปุเรชาต- ปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ นปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น อัปปมาณะ ฯลฯ (๑)
นปัจฉาชาตปัจจัยและนอาเสวนปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ นปัจฉาชาตปัจจัย เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนอาเสวน- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นมหัคคตะ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากซึ่งเป็นอัปปมาณะ ฯลฯ (๑)
นกัมมปัจจัย
[๔๙] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นปริตตะ (๑) สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนกัมม- ปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นมหัคคตะ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับขันธ์ที่เป็นกุศลซึ่งเป็น อัปปมาณะ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๓๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นวิปากปัจจัย
[๕๐] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะนวิปาก- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นมหัคคตะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ นวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลซึ่งเป็นอัปปมาณะ ฯลฯ (๑)
นฌานปัจจัยเป็นต้น
[๕๑] สภาวธรรมที่เป็นปริตตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นปริตตะเพราะ นฌานปัจจัย เพราะนมัคคปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็นปริตตะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นมหัคคตะเพราะ นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น มหัคคตะ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเกิดระคนกับสภาวธรรมที่เป็นอัปปมาณะเพราะ นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ เกิดระคนกับขันธ์ ๑ ที่เป็น อัปปมาณะ ฯลฯ (๑)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
[๕๒] นเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๓๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๒. ปริตตติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
[๕๓] นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
[๕๔] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๑ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๑ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ สังสัฏฐวาร จบ
(สัมปยุตตวารเหมือนกับสังสัฏฐวาร)
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๔๓๔}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๔๓๐-๔๓๔. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=28              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=10234&Z=10342                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1391              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1391&items=27              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1391&items=27                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :