ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน
๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ ทำขันธ์ ๒ ให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๑๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ นิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี ๓ วาระ [๑๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ นิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ หทัยวัตถุทำขันธ์ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง นิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ นิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๕) [๒๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ และจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ... มี ๓ วาระ
อารัมมณปัจจัย
[๒๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ... ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี ๑ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ ขันธ์ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ อารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑)
อธิปติปัจจัย
[๒๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ... มี ๑ วาระ ฯลฯ ขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ (แม้ในข้อนี้ฆฏนาก็เหมือนกับเหตุปัจจัย)
อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๒๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอนันตรปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย เพราะสหชาตปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ นิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ทำหทัยวัตถุ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย (ย่อ พึงเพิ่มฆฏนาทั้งหมด)
อัญญมัญญปัจจัยเป็นต้น
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย เพราะนิสสยปัจจัย เพราะอุปนิสสย- {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

ปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย เพราะอาเสวนปัจจัย เพราะกัมมปัจจัย เพราะวิปาก- ปัจจัย เพราะอาหารปัจจัย เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะสัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย
๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๒๕] เหตุปัจจัย มี ๑๗ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๗ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๗ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๗ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๗ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๗ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๖] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น อเหตุกะ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณ ทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้น ขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

นเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะทำขันธ์ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอารัมมณปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรม ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย (ย่อ เหมือนกับปฏิจจวาร)
นอธิปติปัจจัย
[๒๘] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพาน ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุ ให้ถึงนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ นิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิด ขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๔) [๒๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติ และทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติ และทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้ เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอธิปติปัจจัย ได้แก่ อธิบดีธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๐] ... เพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะนอัญญ- มัญญปัจจัย เพราะนอุปนิสสยปัจจัย เพราะนปุเรชาตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๗ วาระ) เพราะนปัจฉาชาตปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

นอาเสวนปัจจัย
[๓๑] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็น เหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป ทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่ เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ขันธ์ที่ไม่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุ ให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุ ให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและ ทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัย เกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และ นิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ ทำขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ ทำขันธ์ ๒ ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติและทำมหาภูตรูปให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ให้ถึงนิพพานและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น เพราะนอาเสวนปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ ทำมหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นกัมมปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานให้เป็น ปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำขันธ์ที่เป็น เหตุให้ถึงนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำขันธ์ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... เจตนาที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุ ให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๒๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึง นิพพานทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ และจุติและที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะ นกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติและทำหทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและ ที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำขันธ์ที่เป็นเหตุให้ถึงนิพพานและทำ หทัยวัตถุให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น (๑)
นวิปากปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิและจุติทำสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้ถึง ปฏิสนธิและจุติให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย (พึงเพิ่มให้บริบูรณ์ ไม่มีใน ปฏิสนธิขณะ) สภาวธรรมที่ไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำสภาวธรรมที่ไม่เป็น เหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ เพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ทำ มหาภูตรูปให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ปัญจวิญญาณ ฯลฯ ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ เพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ สภาวธรรมที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพาน ฯลฯ สำหรับ เหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ จักขุวิญญาณทำจักขายตนะให้เป็น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๓๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

ปัจจัยเกิดขึ้น ฯลฯ กายวิญญาณทำกายายตนะให้เป็นปัจจัยเกิดขึ้น สภาวธรรมที่ เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นเหตุให้ถึงปฏิสนธิ จุติ และนิพพานทำหทัยวัตถุ ... เพราะ นสัมปยุตตปัจจัย เพราะนวิปปยุตตปัจจัย (เหมือนกับปฏิจจวาร มี ๓ วาระ) เพราะ โนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจจัย
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๓๔] นเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๒ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑๑ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๑๗ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๓๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๓. ปัจจยวาร

๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๓๕] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๗ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๗ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๓๖] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๔ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๔ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๓๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑๐. อาจยคามิติกะ ๕. สังสัฏฐวาร

นิสสยปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๔ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๔ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๔ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๔ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๔ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๔ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๔ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๔ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๔ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๔ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๔ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ ปัจจยวาร จบ
(นิสสยวารเหมือนกับปัจจยวาร)


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๓๑๙-๓๓๓. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=19              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=7750&Z=8035                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=1042              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=1042&items=30              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=1042&items=30                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :