ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๘ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๒ ปัจฉิมอนุโลมติกปัฏฐาน

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๗๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป โดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ เหตุที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ [๗๖] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยเหตุปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๗๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุ- ปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยเหตุ- ปัจจัย (๕)
อารัมมณปัจจัย
[๗๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคล ยินดีเพลิดเพลินราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค เพราะปรารภความ ยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค จึงเกิดขึ้น บุคคลยินดีเพลิดเพลินทิฏฐิ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินทิฏฐินั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึง เกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภ วิจิกิจฉา วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉา จึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งละได้แล้ว {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๗๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยเป็น สภาวะไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา ฯลฯ ด้วยเจโตปริยญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ อาวัชชนจิต และโมหะโดยอารัมมณปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๓) [๗๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภ ความยินดีเพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง เกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง เกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค เบื้องบน ๓ โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะ จึงเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลยินดี เพลิดเพลินราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เพราะปรารภความยินดี เพลิดเพลินราคะนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น ทิฏฐิ จึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง เกิดขึ้น เพราะปรารภอุทธัจจะ ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภโทมนัสที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง เกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๗๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณ- ปัจจัย ได้แก่ พระอริยะพิจารณากิเลสที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่ง ละได้แล้ว พิจารณากิเลสที่ข่มได้แล้ว รู้กิเลสที่เคยเกิดขึ้น เห็นแจ้งขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ ด้วยเจโตปริยญาณ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่เจโตปริยญาณ ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ ยถากัมมูปคญาณ อนาคตังสญาณ อาวัชชนจิต และ โมหะโดยอารัมมณปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่มี เหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึง เกิดขึ้น (๕) [๗๙] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (พึงขยายให้พิสดารเหมือน กับทัสสนติกะ) ... เป็นปัจจัยแก่อาวัชชนจิตและโมหะโดยอารัมมณปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (เหมือนกับทัสสนติกะ) (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ บุคคลให้ทาน ... (เหมือนกับทัสสนติกะ) (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๗๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น เพราะปรารภ โสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึงเกิดขึ้น (๕) [๘๐] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรค มรรคเบื้องบน ๓ และโมหะจึงเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ โมหะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๗๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๘๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคจึง เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ จึง เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ และโมหะจึงเกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ และโมหะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย ได้แก่ เพราะปรารภขันธ์ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะและโมหะ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึงเกิดขึ้น (๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๗๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

อธิปติปัจจัย
[๘๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอธิปติปัจจัย (เหมือนกับทัสสนติกะ มี ๑๐ วาระ)
อนันตรปัจจัย
[๘๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่ง เกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลังๆ และโมหะโดย อนันตรปัจจัย (๓) [๘๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๗๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ วุฏฐานะโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดหลังๆ และโมหะโดย อนันตรปัจจัย (๓) [๘๕] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และที่สหรคตด้วย อุทธัจจะซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โคตรภู อนุโลมเป็นปัจจัยแก่โวทาน ฯลฯ เนวสัญญานาสัญญา- ยตนะของท่านผู้ออกจากนิโรธเป็นปัจจัยแก่ผลสมาบัติโดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย อุทธัจจะซึ่งเกิดหลังๆ โดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่ง เกิดหลังๆ และโมหะโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและโมหะโดยอนันตรปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะ ซึ่งเกิดหลังๆ และโมหะโดยอนันตรปัจจัย อาวัชชนจิตเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอนันตรปัจจัย (๕) [๘๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อนๆ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิด หลังๆ โดยอนันตรปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อนๆ และโมหะเป็นปัจจัยแก่โมหะซึ่งเกิดหลังๆ โดย อนันตรปัจจัย ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่วุฏฐานะโดย อนันตรปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

มรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อนๆ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลังๆ และโมหะโดยอนันตร- ปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอนันตรปัจจัย มี ๓ วาระ (มีข้อความเหมือน กับบทว่าโสดาปัตติมรรค)
สมนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๘๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือน กับอนันตรปัจจัย) เป็นปัจจัยโดยสหชาตปัจจัย (ย่อเหมือนกับสหชาตปัจจัยใน ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยอัญญมัญญปัจจัย (ย่อเหมือนกับอัญญมัญญปัจจัยใน ปฏิจจวาร) เป็นปัจจัยโดยนิสสยปัจจัย (ย่อเหมือนกับนิสสยวารในปัจจยวาร ไม่มี ฆฏนาเป็นแผนกหนึ่งต่างหาก)
อุปนิสสยปัจจัย
[๘๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรค แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรค ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนา แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลาย สงฆ์ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรค ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติ ให้เกิดขึ้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... .ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา และโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๘๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... โทสะ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาโดย อุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ แล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค เบื้องบน ๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลาย สงฆ์ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาเป็น ปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ... โทสะ ... โมหะ ... ทิฏฐิ ... ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอำนาจความพอใจในสิ่งของ ของตนเป็นปัจจัยแก่ความยินดีด้วยอำนาจความพอใจในสิ่งของของคนอื่นโดย อุปนิสสยปัจจัย ความยินดีด้วยอำนาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของตนเป็นปัจจัยแก่ ความยินดีด้วยอำนาจความพอใจในสิ่งหวงแหนของคนอื่นโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ แล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยโทสะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ ... โมหะ ... มานะ ... ความปรารถนาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความ ปรารถนา ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ฯลฯ สุขทางกาย ฯลฯ ทุกข์ทางกาย ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาเป็น ปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป- นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๕) [๙๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้วให้ทาน ฯลฯ ทำสมาบัติให้เกิดขึ้น อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... อุตุ ... โภชนะ ... เสนาสนะ ... โมหะแล้วให้ทาน ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ โมหะเป็นปัจจัยแก่ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว ถือทิฏฐิ อาศัยศีล ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... เสนาสนะ ... โมหะแล้วฆ่าสัตว์ ฯลฯ ทำลายสงฆ์ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสย- ปัจจัย มี ๓ อย่าง คือ อารัมมณูปนิสสยะ อนันตรูปนิสสยะ และปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ บุคคลอาศัยศรัทธาแล้ว มีมานะ ฯลฯ อาศัยโมหะแล้ว มีมานะ ฯลฯ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ ความปรารถนาโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ... ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ... เสนาสนะ และโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุป- นิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ศรัทธา ฯลฯ เสนาสนะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕) [๙๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป- นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย อุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ ปัญญา ... สุขทางกาย ... ทุกข์ทางกาย ผลสมาบัติและโมหะโดย อุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๙๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูป- นิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดยอุปนิสสย- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูป- นิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ราคะ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ เป็นปัจจัยแก่ความปรารถนาโดย อุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและปกตูปนิสสยะ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ ศรัทธา ฯลฯ ผลสมาบัติและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ โมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอุปนิสสยปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อนันตรูปนิสสยะและ ปกตูปนิสสยะ ฯลฯ ปกตูปนิสสยะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่ สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอุปนิสสยปัจจัย (๕)
ปุเรชาตปัจจัย
[๙๓] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นแจ้งโสตะ ฯลฯ หทัยวัตถุโดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพา- ยตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดยปุเรชาตปัจจัย วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายายตนะ เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ และโมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรค ฯลฯ ทิฏฐิ ฯลฯ วิจิกิจฉา ฯลฯ โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคโดยปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาต- ปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น อุทธัจจะจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ จึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย มรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่สหรคต ด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและ โมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๘๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปุเรชาตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ อารัมมณปุเรชาตะและวัตถุปุเรชาตะ อารัมมณปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ขันธ์ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะและโมหะจึงเกิดขึ้น วัตถุปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ โมหะโดยปุเรชาตปัจจัย (๕)
ปัจฉาชาตปัจจัย
[๙๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย ปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาต- ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรค เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน โดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยปัจฉาชาตปัจจัย มี อย่างเดียว คือ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัย แก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยปัจฉาชาตปัจจัย (๑)
อาเสวนปัจจัย
[๙๕] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่ มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคซึ่งเกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่โมหะที่เกิดหลังๆ โดยอาเสวนปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉา ซึ่งเกิดก่อนๆ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาซึ่งเกิดหลังๆ และโมหะโดย อาเสวนปัจจัย สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ (ย่อ) มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (ในวาระที่มีอาเสวนปัจจัยเป็นมูล วุฏฐานะและอาวัชชนจิตพึงละไว้ ๑๗ วาระ บริบูรณ์แล้ว เหมือนกับอนันตรปัจจัย) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

กัมมปัจจัย
[๙๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาว- ธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยกัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัย แก่โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๓) [๙๗] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย กัมมปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่โมหะและ จิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุต้องประหาณ ด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดย กัมมปัจจัย (๓) [๙๘] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยกัมมปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและนานาขณิกะ สหชาตะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยกัมมปัจจัย ใน ปฏิสนธิขณะ ฯลฯ นานาขณิกะ ได้แก่ เจตนาที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นวิบากและกฏัตตารูปโดยกัมมปัจจัย (๑)
วิปากปัจจัย
[๙๙] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยวิปากปัจจัย (ทั้งปวัตติกาลและปฏิสนธิกาล) ขันธ์ที่เป็นวิบากเป็น ปัจจัยแก่หทัยวัตถุ ฯลฯ
อาหารปัจจัย
[๑๐๐] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหาร ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดยอาหาร- ปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่โมหะและ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โมหะและจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ (เหมือนกับบทว่าโสดาปัตติมรรค) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอาหารปัจจัย ได้แก่ อาหารที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอาหารปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ กวฬิงการาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอาหารปัจจัย
อินทรียปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอินทรียปัจจัย มี ๓ วาระ (ปัจจัยนี้เหมือนกับอาหารปัจจัย พึงเพิ่มโมหะเข้าด้วย) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง บน ๓ โดยอินทรียปัจจัย ได้แก่ อินทรีย์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ ฯลฯ จักขุนทรีย์เป็นปัจจัย แก่จักขุวิญญาณ ฯลฯ กายินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์ เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอินทรียปัจจัย เป็นปัจจัยโดยฌานปัจจัย เป็นปัจจัยโดย มัคคปัจจัย (พึงทำปัจจัยเหล่านี้ให้เป็นปัจจัยที่มีเหตุ) เป็นปัจจัยโดยสัมปยุตตปัจจัย (เหมือนกับสัมปยุตตวารในปฏิจจวาร) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

วิปปยุตตปัจจัย
[๑๐๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดย วิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (เหมือนกับทัสสนติกะ) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ (เหมือนกับทัสสนติกะ) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัยมี ๓ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ และปัจฉาชาตะ (เหมือน กับทัสสนติกะ) ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ และโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อน ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรค ฯลฯ (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตต- ปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่างเดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะ โดยวิปปยุตตปัจจัย (๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มีอย่าง เดียว คือ ปุเรชาตะ ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและ โมหะโดยวิปปยุตตปัจจัย (๕) [๑๐๓] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี เหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยวิปปยุตตปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยวิปปยุตตปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะ และปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูป ฯลฯ ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อนโดยวิปปยุตตปัจจัย (๑)
อัตถิปัจจัยเป็นต้น
[๑๐๔] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ ฯลฯ (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปัจฉาชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่โมหะและจิตต- สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ กายนี้ที่เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โมหะและจิตตสมุฏฐานรูป โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ ... มี ๓ วาระ [๑๐๕] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัยมี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ โมหะ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดย อัตถิปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ฯลฯ ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลเห็นแจ้งจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ โดยเป็นสภาวะไม่เที่ยง ฯลฯ เห็นรูปด้วยทิพพจักขุ ฟังเสียงด้วยทิพพโสตธาตุ รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

จักขุวิญญาณ ฯลฯ โผฏฐัพพายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณ ฯลฯ จักขายตนะ ฯลฯ กายายตนะ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ และโมหะโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ และโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่เกิดก่อนโดยเป็นอัตถิปัจจัย กวฬิง- การาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้ ฯลฯ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์โดย อัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เพราะปรารภ ความยินดีเพลิดเพลินจักษุเป็นต้นนั้น ราคะที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค จึงเกิดขึ้น ทิฏฐิจึงเกิดขึ้น วิจิกิจฉาจึงเกิดขึ้น โทมนัสที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคจึงเกิดขึ้น หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วย โสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์ โดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ บุคคลยินดีเพลิดเพลินจักษุ ฯลฯ หทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะจึง เกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและโมหะโดยอัตถิปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเป็นปัจจัยแก่สัมปยุตตขันธ์และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ปุเรชาตะ ได้แก่ เพราะปรารภจักษุ ขันธ์ที่สหรคตด้วยอุทธัจจะและโมหะจึง เกิดขึ้น ฯลฯ เพราะปรารภหทัยวัตถุ ฯลฯ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่สหรคต ด้วยอุทธัจจะและโมหะโดยอัตถิปัจจัย (๕) [๑๐๖] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอัตถิปัจจัย มี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและ ปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและหทัย- วัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิ- ปัจจัย มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๒๙๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมหาภูตรูป เป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่โมหะ โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่กายนี้ที่ เกิดก่อนโดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและกวฬิง- การาหารเป็นปัจจัยแก่กายนี้โดยอัตถิปัจจัย ปัจฉาชาตะ ได้แก่ ขันธ์ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ รูปชีวิตินทรีย์เป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูปโดยอัตถิปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและ มรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัยมี ๒ อย่าง คือ สหชาตะและปุเรชาตะ สหชาตะ ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและหทัยวัตถุเป็นปัจจัย แก่ขันธ์ ๓ และโมหะโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ ฯลฯ ขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วย วิจิกิจฉาและโมหะเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยอัตถิปัจจัย ฯลฯ ขันธ์ ๒ และโมหะ ฯลฯ (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอัตถิปัจจัย (ย่อ มี ๓ วาระ พึงจำแนก โสดาปัตติมรรคนัย พึงกำหนดบทว่าอุทธัจจะไว้) เป็นปัจจัยโดยนัตถิปัจจัย เป็น ปัจจัยโดยวิคตปัจจัย เป็นปัจจัยโดยอวิคตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๐๗] เหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๑๐ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๑๗ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๑๑ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๕ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย มี ๕ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๑๗ วาระ กัมมปัจจัย มี ๗ วาระ วิปากปัจจัย มี ๑ วาระ อาหารปัจจัย มี ๗ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๗ วาระ ฌานปัจจัย มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๑๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๑๗ วาระ วิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลม จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

๒. ปัจจนียุทธาร
[๑๐๘] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่ สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาต- ปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย และกัมมปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓) [๑๐๙] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัย แก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปัจฉาชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติ- มรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดา- ปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย- ปัจจัย (๕) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

[๑๑๐] สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและไม่ต้อง ประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย ปุเรชาตปัจจัย ปัจฉาชาตปัจจัย กัมมปัจจัย อาหารปัจจัย และ อินทรียปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณ- ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณ- ปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาต- ปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย อุปนิสสยปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย (๕) [๑๑๑] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรม ที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และ อุปนิสสยปัจจัย (๑) (ในข้อนี้มีสหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยเจือปนกันอยู่ พึงทำตามพระบาลีใน การนับใคร่ครวญแล้วจึงนับ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้อง ๓ มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (๒) (แม้ในข้อนี้มีคำว่า อารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย ในพระบาลีไม่มี เมื่อจะนับพึงใคร่ครวญแล้วจึงนับ) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณ ด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรค เบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๓) (ในข้อนี้ สหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยมีวาระเจือปนกันอยู่ พึงทำตามพระบาลี) [๑๑๒] สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มี เหตุต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคโดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสย- ปัจจัย (แม้ในข้อนี้สหชาตปัจจัย และปุเรชาตปัจจัย มีวาระเจือปนกันอยู่) (๒) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ มี ๕ อย่าง คือ สหชาตะ ปุเรชาตะ ปัจฉาชาตะ อาหาระ และอินทรียะ (แม้ในข้อนี้ก็มีอารัมมณปัจจัยและ อุปนิสสยปัจจัยอยู่ด้วย) (๓) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัยและอุปนิสสยปัจจัย (๔) สภาวธรรมที่มีเหตุต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้อง ประหาณด้วยโสดาปัตติมรรคและมรรคเบื้องบน ๓ เป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่มีเหตุ ต้องประหาณด้วยมรรคเบื้องบน ๓ และที่มีเหตุไม่ต้องประหาณด้วยโสดาปัตติมรรค และมรรคเบื้องบน ๓ โดยอารัมมณปัจจัย สหชาตปัจจัย และอุปนิสสยปัจจัย (๕) (แม้ในข้อนี้ สหชาตปัจจัยและปุเรชาตปัจจัยก็มีอยู่ วาระที่ท่านไม่ได้เขียนไว้ เมื่อจะนับในพระบาลีก็จะไม่สมกับพยัญชนะ วาระที่ไม่ได้เขียนไว้ในพระบาลีมี จำนวนปรากฏอยู่ ถ้าสงสัยพึงพิจารณาดูในอัตถิปัจจัยในอนุโลม)
๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๑๑๓] นเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๒๑ วาระ นสหชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๒๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๒๑ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒๑ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๒๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอาหารปัจจัย มี ๒๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๒๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๒๑ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๒๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๒๑ วาระ โนอัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๒๑ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ โนอวิคตปัจจัย มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๑๑๔] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๑๑ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

นอินทรียปัจจัย กัมเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๑๑๕] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๒๑ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒๑ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ ปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๕ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๗ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๗ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๗ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๙. ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ ๗. ปัญหาวาร

ฌานปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๗ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๗ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๑๑ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑๗ วาระ (พึงนับอย่างนี้)
ปัจจนียานุโลม จบ ปัญหาวาร จบ
ทัสสเนนปหาตัพพเหตุกติกะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๑ หน้า : ๓๐๘}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๑ หน้าที่ ๒๗๓-๓๐๘. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=41&siri=17              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8], [9], [10], [11], [12].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=41&A=6706&Z=7530                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=41&i=876              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=41&item=876&items=140              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=41&item=876&items=140                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu41



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :