ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑
นิสสยปัจจัย
[๔๒๑] สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยนิสสย- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๖๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย นิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤต โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสย- ปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดย นิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤต โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และจิตตสมุฏฐานรูป โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสย- ปัจจัย (๓) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตโดยนิสสย- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากตกิริยาเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และ จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐาน- รูปโดยนิสสยปัจจัย ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอัพยากตวิบากเป็นปัจจัยแก่ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ และ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๖๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

กฏัตตารูปโดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ เป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปโดยนิสสย- ปัจจัย ขันธ์เป็นปัจจัยแก่หทัยวัตถุโดยนิสสยปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๑ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็น ปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปโดยนิสสยปัจจัย ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหาร เป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหา- ภูตรูป ๑ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๓ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๓ เป็นปัจจัย แก่มหาภูตรูป ๑ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูป ๒ เป็นปัจจัยแก่มหาภูตรูป ๒ โดยนิสสยปัจจัย มหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่กฏัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปโดยนิสสย- ปัจจัย จักขายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณโดยนิสสยปัจจัย โสตายตนะ ฯลฯ ฆานายตนะ ฯลฯ ชิวหายตนะ ฯลฯ กายายตนะเป็นปัจจัยแก่กายวิญญาณโดย นิสสยปัจจัย หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอัพยากตวิบากและที่เป็นอัพยากต- กิริยาโดยนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นกุศลโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นกุศลโดยนิสสยปัจจัย (๒) สภาวธรรมที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศลโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ หทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ที่เป็นอกุศลโดยนิสสยปัจจัย (๓) [๔๒๒] สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่ เป็นกุศลโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นกุศลและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นกุศลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่จิตต- สมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๒๗๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๑. กุสลติกะ ๗. ปัญหาวาร

สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็นอกุศล โดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๑ ที่เป็นอกุศลและหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๓ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๓ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๑ โดยนิสสยปัจจัย ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเป็นปัจจัยแก่ขันธ์ ๒ โดยนิสสยปัจจัย (๑) สภาวธรรมที่เป็นอกุศลและที่เป็นอัพยากฤตเป็นปัจจัยแก่สภาวธรรมที่เป็น อัพยากฤตโดยนิสสยปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ที่เป็นอกุศลและมหาภูตรูปเป็นปัจจัยแก่ จิตตสมุฏฐานรูปโดยนิสสยปัจจัย (๒)


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๒๖๘-๒๗๑. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=49              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=6102&Z=6167                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=531              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=531&items=13              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=531&items=13                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :