ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๗ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาปัฏฐานปกรณ์ ภาค ๑

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร
๑. ปัจจยานุโลม ๑. วิภังควาร
เหตุปัจจัย
[๑] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบาก เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ใน ปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) [๒] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัย สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูป และกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุ เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓) [๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่ เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และ หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น วิบากและที่ไม่เป็นวิบาก ไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและ มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
อารัมมณปัจจัย
[๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอารัมมณ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) [๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิด วิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) [๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด วิบากเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัย หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒) [๙] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบาก ไม่ เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอารัมมณปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อธิปติปัจจัย
[๑๐] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น วิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) ... อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... มี ๓ วาระ [๑๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัย มหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น [๑๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอธิปติปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

อนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๑๓] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอนันตร- ปัจจัย เพราะสมนันตรปัจจัย (ปัจจัยนี้เหมือนกับอารัมมณปัจจัย) เพราะสหชาตปัจจัย (สหชาตปัจจัยเหมือนกับเหตุปัจจัยทั้งหมด) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะสหชาตปัจจัย ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม (สหชาตปัจจัยมีข้อต่างกันเท่านี้)
อัญญมัญญปัจจัย
[๑๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญ- มัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบาก เกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ที่เป็น วิบากเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ หทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น เพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๑๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น สมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด วิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัย หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็น เหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอัญญมัญญปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑)
นิสสยปัจจัยเป็นต้น
[๑๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนิสสย- ปัจจัย (ย่อ) เพราะอุปนิสสยปัจจัย เพราะปุเรชาตปัจจัย
อาเสวนปัจจัย
[๑๗] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิด ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะอาเสวนปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

กัมมปัจจัยและวิปากปัจจัย
[๑๘] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะกัมม- ปัจจัย (ย่อ) เพราะวิปากปัจจัย มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด วิบากเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัย หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ได้แก่ ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็น เหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... เกิดขึ้นเพราะ วิปากปัจจัย สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... เกิดขึ้น เพราะวิปากปัจจัย ฯลฯ
อาหารปัจจัยเป็นต้น
[๑๙] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะอาหาร- ปัจจัย (ย่อ) เพราะอินทรียปัจจัย เพราะฌานปัจจัย เพราะมัคคปัจจัย เพราะ สัมปยุตตปัจจัย เพราะวิปปยุตตปัจจัย เพราะอัตถิปัจจัย เพราะนัตถิปัจจัย เพราะวิคตปัจจัย เพราะอวิคตปัจจัย {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๑. ปัจจยานุโลม ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๒๐] เหตุปัจจัย มี ๑๓ วาระ อารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ อธิปติปัจจัย มี ๙ วาระ อนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ สมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ สหชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย มี ๗ วาระ นิสสยปัจจัย มี ๑๓ วาระ อุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ ปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย มี ๑๓ วาระ วิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย มี ๑๓ วาระ อินทรียปัจจัย มี ๑๓ วาระ ฌานปัจจัย มี ๑๓ วาระ มัคคปัจจัย มี ๑๓ วาระ สัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ วิปปยุตตปัจจัย มี ๑๓ วาระ อัตถิปัจจัย มี ๑๓ วาระ นัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ วิคตปัจจัย มี ๕ วาระ อวิคตปัจจัย มี ๑๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

เหตุทุกนัย
[๒๑] อารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ ฯลฯ อวิคตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ ฯลฯ (พึงนับเหมือนการนับกุสลติกะ)
อาเสวนทุกนัย
[๒๒] เหตุปัจจัย กับอาเสวนปัจจัย มี ๒ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๒ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๒ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๒ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๒ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๒ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๒ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๒ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๒ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๒ วาระ ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๐๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

วิปากทุกนัย
[๒๓] เหตุปัจจัย กับวิปากปัจจัย มี ๙ วาระ อารัมมณปัจจัย ” มี ๓ วาระ อธิปติปัจจัย ” มี ๕ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๖ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๙ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๙ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๙ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๙ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๙ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๙ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๙ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๙ วาระ (ย่อ)
การนับอนุโลม จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๑. วิภังควาร
นเหตุปัจจัย
[๒๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุ- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ขันธ์ ๑ อาศัยขันธ์ ๓ เกิดขึ้น ขันธ์ ๒ อาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น วิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่ง เป็นวิบากเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น หทัยวัตถุอาศัยขันธ์เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ และกฏัตตารูป อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) [๒๕] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ โมหะที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วย อุทธัจจะอาศัยขันธ์ที่สหรคตด้วยวิจิกิจฉาและที่สหรคตด้วยอุทธัจจะเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ มหาภูตรูป ๒ อาศัยมหาภูตรูป ๒ เกิดขึ้น {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

จิตตสมุฏฐานรูปและกฎัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่า อสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฎัตตารูป ที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่เป็นวิบาก อาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ใน ปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฎัตตารูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓) [๒๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบาก ไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็น อเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น วิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบากและอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ กฎัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนเหตุปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิด ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฎัตตารูปอาศัยขันธ์ที่ เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอารัมมณปัจจัย
[๒๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น วิบากเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฎัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น หทัยวัตถุ อาศัยขันธ์เกิดขึ้น (๑) [๒๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูป อาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น (๑) [๒๙] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น มหา- ภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฎัตตารูปที่ เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น กฎัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) [๓๐] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) [๓๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะ นอารัมมณปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและ มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑)
นอธิปติปัจจัย
[๓๒] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนอธิปติ- ปัจจัย (ย่อ) (นอธิปติปัจจัยเหมือนกับสหชาตปัจจัยที่เป็นฝ่ายอนุโลม) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัยเป็นต้น
[๓๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนอนันตรปัจจัย เพราะนสมนันตรปัจจัย เพราะ นอัญญมัญญปัจจัย ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปและกฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุ เป็นสมุฏฐาน... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (นี้เป็นความต่างกัน) เพราะนอัญญมัญญปัจจัย เพราะ นอุปนิสสยปัจจัย (ย่อ)
นปุเรชาตปัจจัย
[๓๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเร- ชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบาก ... (ย่อ) (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น วิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ (ย่อ)(๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบาก เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ และ กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และกฏัตตารูปอาศัย ขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น เพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็น วิบากเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๓๕] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ใน อรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ไม่ เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ (๑) สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด วิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัย หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ใน ปฏิสนธิขณะ ขันธ์ที่เป็นวิบากอาศัยหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยมหาภูตรูป เกิดขึ้น (๓) [๓๖] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบาก ไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และ หทัยวัตถุเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบาก และที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ จิตต- สมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น ในปฏิสนธิขณะ กฏัตตารูป อาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๒) สภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาตปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ และหทัยวัตถุเกิดขึ้น กฏัตตารูปอาศัยขันธ์ที่เป็นวิบากและ มหาภูตรูปเกิดขึ้น (๓) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๕}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

[๓๗] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนปุเรชาต- ปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นปัจฉาชาตปัจจัยเป็นต้น
[๓๘] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนปัจฉา- ชาตปัจจัย ฯลฯ เพราะนอาเสวนปัจจัย (ย่อ)
นกัมมปัจจัย
[๓๙] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากเกิดขึ้น สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนกัมมปัจจัย ได้แก่ เจตนาที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยขันธ์ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิด วิบากเกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น สมุฏฐาน... มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ อุปาทายรูป อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นวิปากปัจจัย
[๔๐] สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก เกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็น เหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่ เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น (๒) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๖}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก อาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น (๓) [๔๑] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ และจิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ จิตตสมุฏฐานรูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัย มหาภูตรูปเกิดขึ้น ...ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็น สมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น (๑) สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปากปัจจัย ได้แก่ จิตตสมุฏฐานรูปอาศัยขันธ์ที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากและมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นอาหารปัจจัย
[๔๒] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอาหารปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็น ภายนอก ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นอินทรียปัจจัย
[๔๓] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนอินทรียปัจจัย ได้แก่ ... ที่ เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๗}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐานเกิดขึ้น ฯลฯ สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม รูปชีวิตินทรีย์ อาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
นฌานปัจจัย
[๔๔] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนฌาน- ปัจจัย ได้แก่ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่สหรคตด้วยปัญจวิญญาณเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนฌานปัจจัย ได้แก่ ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็นสมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม ... อาศัยมหาภูตรูป ๑ ฯลฯ
นมัคคปัจจัย
[๔๕] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนมัคค- ปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งเป็นวิบาก ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็น วิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ... อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นอเหตุกะซึ่งไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... มี ๓ วาระ สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากและที่ไม่เป็นวิบากไม่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนมัคคปัจจัย ได้แก่ ในปฏิสนธิขณะที่เป็นอเหตุกะ ... อาศัย ขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากและหทัยวัตถุ ... มี ๓ วาระ
นสัมปยุตตปัจจัย
[๔๖] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๘}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุ ให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนสัมปยุตตปัจจัย มี ๒ วาระ ... อาศัยสภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบาก ... มี ๑ วาระ
นวิปปยุตตปัจจัย
[๔๗] สภาวธรรมที่เป็นวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะ นวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็นวิบากเกิด ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น เพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ในอรูปาวจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่เป็น เหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรมที่ไม่ เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิดขึ้นเพราะนวิปปยุตตปัจจัย ได้แก่ ใน อรูปวาจรภูมิ ขันธ์ ๓ อาศัยขันธ์ ๑ ที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากเกิด ขึ้น ฯลฯ ขันธ์ ๒ อาศัยขันธ์ ๒ เกิดขึ้น ... ที่เป็นภายนอก ... ที่มีอาหารเป็น สมุฏฐาน ... ที่มีอุตุเป็นสมุฏฐาน ... สำหรับเหล่าอสัญญสัตตพรหม มหาภูตรูป ๓ อาศัยมหาภูตรูป ๑ เกิดขึ้น ฯลฯ กฏัตตารูปที่เป็นอุปาทายรูปอาศัยมหาภูตรูปเกิดขึ้น
โนนัตถิปัจจัยและโนวิคตปัจจัย
[๔๘] สภาวธรรมที่ไม่เป็นวิบากและไม่เป็นเหตุให้เกิดวิบากอาศัยสภาวธรรม ที่เป็นวิบากเกิดขึ้นเพราะโนนัตถิปัจจัย เพราะโนวิคตปัจัย (ย่อ) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๑๙}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๒. ปัจจยปัจจนียะ ๒. สังขยาวาร
สุทธนัย
[๔๙] นเหตุปัจจัย มี ๑๐ วาระ นอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย มี ๑๓ วาระ นอนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย มี ๑๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย มี ๑๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย มี ๑๓ วาระ นกัมมปัจจัย มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย มี ๕ วาระ นอาหารปัจจัย มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย มี ๕ วาระ
นเหตุทุกนัย
[๕๐] นอารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๐}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นอนันตรปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๓ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๓ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๒ วาระ นอาหารปัจจัย ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” มี ๒ วาระ นมัคคปัจจัย ” มี ๙ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๒ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๓ วาระ
ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นอนันตรปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ฯลฯ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอาหารปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นอินทรียปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นฌานปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ นมัคคปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๑}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นสัมปยุตตปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๑ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ โนวิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ (ย่อ)
นเหตุมูลกนัย จบ
(แม้ในวิปากติกะนี้ก็พึงนับเหมือนที่นับไว้แล้วในกุสลติกะตามแนวแห่งการสาธยาย)
ปัจจนียะ จบ
๓. ปัจจยานุโลมปัจจนียะ
เหตุทุกนัย
[๕๑] นอารัมมณปัจจัย กับเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ นอธิปติปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ นอนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอัญญมัญญปัจจัย ” มี ๕ วาระ นอุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” มี ๑๒ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” มี ๑๓ วาระ นกัมมปัจจัย ” มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย ” มี ๕ วาระ นสัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” มี ๓ วาระ โนนัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ โนวิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๒}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

ติกนัย
นอธิปติปัจจัย กับเหตุปัจจัยและอารัมมณปัจจัย มี ๕ วาระ นปุเรชาตปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นอาเสวนปัจจัย ” ” มี ๕ วาระ นกัมมปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ
จตุกกนัย
นปุเรชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย และอธิปติปัจจัย มี ๓ วาระ นปัจฉาชาตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ นวิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฯลฯ
นวกนัย
นปัจฉาชาตปัจจัย กับเหตุปัจจัย อารัมมณปัจจัย อธิปติปัจจัย อนันตรปัจจัย (ย่อปัจจัยที่เป็นมูล) และปุเรชาตปัจจัย มี ๓ วาระ นอาเสวนปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ นกัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ นวิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๒ วาระ (ย่อ) (พึงนับเหมือนการนับอนุโลมปัจจนียะในกุสลติกะ)
อนุโลมปัจจนียะ จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๓}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

๔. ปัจจยปัจจนียานุโลม
นเหตุทุกนัย
[๕๒] อารัมมณปัจจัย กับนเหตุปัจจัย มี ๕ วาระ อนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ สมนันตรปัจจัย ” มี ๕ วาระ สหชาตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” มี ๗ วาระ นิสสยปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ อุปนิสสยปัจจัย ” มี ๕ วาระ ปุเรชาตปัจจัย ” มี ๓ วาระ อาเสวนปัจจัย ” มี ๒ วาระ กัมมปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ วิปากปัจจัย ” มี ๙ วาระ อาหารปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ อินทรียปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ ฌานปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ มัคคปัจจัย ” มี ๑ วาระ สัมปยุตตปัจจัย ” มี ๕ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ อัตถิปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ นัตถิปัจจัย ” มี ๕ วาระ วิคตปัจจัย ” มี ๕ วาระ อวิคตปัจจัย ” มี ๑๐ วาระ
ติกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ อัญญมัญญปัจจัย ” ” มี ๒ วาระ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๔}

พระอภิธรรมปิฎก ธัมมานุโลม [ติกปัฏฐาน]

๓. วิปากติกะ ๑. ปฏิจจวาร

นิสสยปัจจัย กับนเหตุปัจจัยและนอารัมมณปัจจัย มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย ” ” มี ๓ วาระ ฯลฯ
สัตตกนัย
สหชาตปัจจัย กับนเหตุปัจจัย นอารัมมณปัจจัย นอธิปติปัจจัย นอนันตรปัจจัย นสมนันตรปัจจัย และนอัญญมัญญปัจจัย มี ๓ วาระ นิสสยปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ กัมมปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ วิปากปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ อาหารปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ อินทรียปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ ฌานปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ วิปปยุตตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ อัตถิปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ อวิคตปัจจัย กับ ฯลฯ มี ๓ วาระ (พึงนับเหมือนนเหตุมูลกนัยในกุสลติกะ ข้อความนี้พึงให้พิสดารเหมือนปัจจนียานุโลม ในกุสลติกะ)
ปัจจนียานุโลม จบ
ปฏิจจวาร จบ
{ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๔๐ หน้า : ๗๒๕}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๔๐ หน้าที่ ๗๐๑-๗๒๕. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=40&siri=164              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6], [7], [8].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=40&A=16541&Z=17090                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=40&i=1238              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=40&item=1238&items=72              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=55&A=12646              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=40&item=1238&items=72              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=55&A=12646                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๔๐ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu40              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/patthana1.4/en/narada



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :