ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ] สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
๔. อมัจฉรีสูตร
ว่าด้วยมาตุคามผู้ไม่ตระหนี่
[๒๙๗] “... ๔. ไม่ตระหนี่ ๕. มีปัญญา ฯลฯ๑-
อมัจฉรีสูตรที่ ๔ จบ
@เชิงอรรถ : @ ดูเนื้อความเต็มในข้อ ๒๙๔ (อักโกธนสูตร) หน้า ๓๒๒ ในเล่มนี้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๘ หน้า : ๓๒๓}

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค [๓. มาตุคามสังยุต]

๒. ทุติยเปยยาลวรรค ๑๐. ปัญจสีลสูตร

๕. อนติจารีสูตร
ว่าด้วยมาตุคามผู้ไม่ประพฤตินอกใจ
[๒๙๘] “... ๔. ไม่ประพฤตินอกใจ ๕. มีปัญญา ฯลฯ๑-
อนติจารีสูตรที่ ๕ จบ
๖. สุสีลสูตร
ว่าด้วยมาตุคามผู้มีศีลดี
[๒๙๙] “... ๔. มีศีล ๕. มีปัญญา ฯลฯ๒-
สุสีลสูตรที่ ๖ จบ
๗. พหุสสุตสูตร
ว่าด้วยมาตุคามผู้มีการฟังมาก
[๓๐๐] “... ๔. มีการฟังมาก ๕. มีปัญญา ฯลฯ๓-
พหุสสุตสูตรที่ ๗ จบ
๘. อารัทธวีริยสูตร
ว่าด้วยมาตุคามผู้ปรารภความเพียร
[๓๐๑] “... ๔. ปรารภความเพียร ๕. มีปัญญา ฯลฯ๔-
อารัทธวีริยสูตรที่ ๘ จบ
@เชิงอรรถ : @๑-๔ ดูเนื้อความเต็มในข้อ ๒๙๔ (อักโกธนสูตร) หน้า ๓๒๒ ในเล่มนี้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๘ หน้า : ๓๒๔}

พระสุตตันตปิฎก สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค [๓. มาตุคามสังยุต]

๒. ทุติยเปยยาลวรรค ๑๐. ปัญจสีลสูตร

๙. อุปัฏฐิตัสสติสูตร
ว่าด้วยมาตุคามผู้มีสติตั้งมั่น
[๓๐๒] “... ๔. มีสติตั้งมั่น ๕. มีปัญญา ฯลฯ๑- อนุรุทธะ มาตุคามประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล หลังจากตายแล้ว จะไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์”
อุปัฏฐิตัสสติสูตรที่ ๙ จบ
ทั้ง ๘ สูตรนี้กล่าวไว้ย่อๆ
๑๐. ปัญจสีลสูตร
ว่าด้วยมาตุคามผู้มีศีล ๕
[๓๐๓] “อนุรุทธะ มาตุคามประกอบด้วยธรรม ๕ ประการ หลังจากตายแล้ว จะไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์ ธรรม ๕ ประการ อะไรบ้าง คือ ๑. เว้นขาดจากการฆ่าสัตว์ ๒. เว้นขาดจากการลักทรัพย์ ๓. เว้นขาดจากการประพฤติผิดในกาม ๔. เว้นขาดจากการพูดเท็จ ๕. เว้นขาดจากการเสพของมึนเมาคือสุราและเมรัยอันเป็นเหตุแห่ง ความประมาท อนุรุทธะ มาตุคามประกอบด้วยธรรม ๕ ประการนี้แล หลังจากตายแล้ว จะไปเกิดในสุคติโลกสวรรค์”
ปัญจสีลสูตรที่ ๑๐ จบ
ทุติยเปยยาลวรรค จบ
@เชิงอรรถ : @ ดูเนื้อความเต็มในข้อ ๒๙๔ (อักโกธนสูตร) หน้า ๓๒๒ ในเล่มนี้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑๘ หน้า : ๓๒๕}


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๑๘ หน้าที่ ๓๒๓-๓๒๕. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=18&siri=243              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=18&A=6444&Z=6451                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=18&i=482              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=18&item=482&items=1              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=18&item=482&items=1                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu18              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://84000.org/tipitaka/english/metta.lk/18i479-e.php#sutta5 https://suttacentral.net/sn37.18/en/sujato https://suttacentral.net/sn37.19/en/sujato https://suttacentral.net/sn37.20/en/sujato https://suttacentral.net/sn37.21/en/sujato https://suttacentral.net/sn37.22/en/sujato https://suttacentral.net/sn37.23/en/sujato



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :