ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๑ [ฉบับมหาจุฬาฯ] มหาวิภังค์ ภาค ๑
สุทธิกวารกถา
สุทธิกฌาน
ปฐมฌาน
[๒๐๐] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๔ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๕ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพราง ความเห็นชอบ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๖ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพราง ความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความเห็น ชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๘๖}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

[๒๐๑] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานอยู่” ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าว เท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานอยู่” ด้วยอาการ ๔ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานอยู่” ด้วยอาการ ๕ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานอยู่” ด้วยอาการ ๖ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานอยู่” ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก [๒๐๒] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วย อาการ ๓ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่า กำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๔ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น ต้องอาบัติปาราชิก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๘๗}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๕ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๖ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพราง ความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าปฐมฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก [๒๐๓] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๔ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๕ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความเห็น ชอบ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๖ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ ต้องอาบัติปาราชิก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๘๘}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก [๒๐๔] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญในปฐมฌาน” ด้วย อาการ ๓ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่า กำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญในปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๔ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญในปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๕ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญในปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๖ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญในปฐมฌาน” ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก [๒๐๕] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าทำปฐมฌานให้แจ้งแล้ว” ด้วย อาการ ๓ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่า กำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว ต้องอาบัติปาราชิก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๘๙}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าทำปฐมฌานให้แจ้งแล้ว” ด้วยอาการ ๔ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าทำปฐมฌานให้แจ้งแล้ว” ด้วยอาการ ๕ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้น กล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพราง ความเห็นชอบ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าทำปฐมฌานให้แจ้งแล้ว” ด้วยอาการ ๖ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าทำปฐมฌานให้แจ้งแล้ว” ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความ เห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก [ปฐมฌานนี้นักปราชญ์ให้พิสดารแล้ว ฉันใด แม้ฌานทั้งมวลก็พึงให้พิสดาร ฉันนั้น]
ทุติยฌาน ตติยฌานและจตุตถฌาน
[๒๐๖] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าตติยฌาน ฯลฯ จตุตถฌานแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้จตุตถฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำจตุตถฌานให้แจ้งแล้ว ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จัก กล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าว เท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๐}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

สุทธิกวิโมกข์
สุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์และอัปปณิหิตวิโมกข์
[๒๐๗] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์ ฯลฯ อัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อัปปณิหิตวิโมกข์ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำอัปปณิหิตวิโมกข์ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
สุทธิกสมาธิ
สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิและอัปปณิหิตสมาธิ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาธิแล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิ ฯลฯ อัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อัปปณิหิตสมาธิ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำอัปปณิหิตสมาธิให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
สุทธิกสมาบัติ
สุญญตสมาบัติ อนิมิตตสมาบัติและอัปปณิหิตสมาบัติ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าสุญญตสมาบัติแล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติ ฯลฯ อัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อัปปณิหิตสมาบัติ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำอัปปณิหิตสมาบัติให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
สุทธิกญาณทัสสนะ
วิชชา ๓
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าวิชชา ๓ แล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้วิชชา ๓ ... ข้าพเจ้า เป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำวิชชา ๓ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๑}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

สุทธิกมัคคภาวนา
สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ และอิทธิบาท ๔
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าสติปัฏฐาน ๔ แล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปธาน ๔ ฯลฯ อิทธิบาท ๔ แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อิทธิบาท ๔ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำอิทธิบาท ๔ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
อินทรีย์ ๕ และพละ ๕
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้พละ ๕ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำพละ ๕ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
โพชฌงค์ ๗
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าโพชฌงค์ ๗ แล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้โพชฌงค์ ๗ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำโพชฌงค์ ๗ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
อริยมรรคมีองค์ ๘
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าอริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อริยมรรคมีองค์ ๘ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำอริยมรรคมีองค์ ๘ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติ ปาราชิก ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๒}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

สุทธิกอริยผล
โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล และอรหัตตผล
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าเข้าโสดาปัตติผลแล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผล ฯลฯ อนาคามิผล ฯลฯ อรหัตตผลแล้ว ... ข้าพเจ้า เข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อรหัตตผล ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำอรหัตตผลให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
สุทธิกกิเลสปหาน
สละราคะ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า “ข้าพเจ้าสละราคะแล้ว ข้าพเจ้าคายราคะแล้ว ข้าพเจ้าพ้นราคะแล้ว ข้าพเจ้าละราคะแล้ว ข้าพเจ้าสลัดราคะแล้ว ข้าพเจ้าเพิกราคะ แล้ว ข้าพเจ้าถอนราคะขึ้นแล้ว” ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
สละโทสะ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าสละโทสะแล้ว ฯลฯ ถอนโทสะขึ้นแล้ว ด้วย อาการ ๓ อย่าง คือ ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
สละโมหะ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าสละ คาย พ้น ละ สลัด เพิก ถอนโมหะขึ้น แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
สุทธิกจิตตวินีวรณะ
จิตปลอดจากราคะ โทสะและโมหะ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากราคะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโทสะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง คือ ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๓}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลัง กล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพราง ความเห็น (๕) อำพรางความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพราง ความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก
สุทธิกะ จบ
ขัณฑจักร
ปฐมฌานและทุติยฌาน
[๒๐๘] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและทุติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ ปฐมฌานและทุติยฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและ ทุติยฌานให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานและตติยฌาน
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและตติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน และตติยฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและตติยฌานให้แจ้ง แล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานและจตุตถฌาน
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและจตุตถฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน และจตุตถฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและจตุตถฌานให้ แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๔}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ปฐมฌานกับสุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์และอัปปณิหิตวิโมกข์
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตวิโมกข์แล้ว ด้วย อาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตตวิโมกข์ ฯลฯ ปฐมฌานและ อัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ ได้ปฐมฌานและอัปปณิหิตวิโมกข์ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌาน และอัปปณิหิตวิโมกข์ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานกับสุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิและอัปปณิหิตสมาธิ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตสมาธิแล้ว ด้วย อาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตสมาธิ ฯลฯ ปฐมฌานและ อัปปณิหิตสมาธิแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ ปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาธิ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและ อัปปณิหิตสมาธิให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานกับสุญญตสมาบัติ อนิมิตตสมาบัติและอัปปณิหิตสมาบัติ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสุญญตสมาบัติแล้ว ด้วย อาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอนิมิตตสมาบัติ ฯลฯ ปฐมฌาน และอัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้า เป็นผู้ได้ปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาบัติ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำ ปฐมฌานและอัปปณิหิตสมาบัติให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานและวิชชา ๓
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและวิชชา ๓ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌานและ วิชชา ๓ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและวิชชา ๓ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๕}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ปฐมฌานกับสติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ และอิทธิบาท ๔
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสติปัฏฐาน ๔ แล้ว ด้วย อาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสัมมัปปธาน ๔ ฯลฯ ปฐมฌาน และอิทธิบาท ๔ แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ ได้ปฐมฌานและอิทธิบาท ๔ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและ อิทธิบาท ๔ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานกับอินทรีย์ ๕ และพละ ๕
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอินทรีย์ ๕ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและพละ ๕ แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้า เป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌานและพละ ๕ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและพละ ๕ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานกับโพชฌงค์ ๗
[๒๐๙] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและโพชฌงค์ ๗ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ ปฐมฌานและโพชฌงค์ ๗ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและ โพชฌงค์ ๗ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานกับอริยมรรคมีองค์ ๘
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌานและอริยมรรค มีองค์ ๘ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานกับโสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผลและอรหัตตผล
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและโสดาปัตติผลแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานและสกทาคามิผล ฯลฯ ปฐมฌานและอนาคามิผล {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๖}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ฯลฯ ปฐมฌานและอรหัตตผลแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌานและอรหัตตผล ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำ ปฐมฌานและอรหัตตผลให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานกับการสละราคะ โทสะและโมหะ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน ... ข้าพเจ้า เป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานให้แจ้งแล้ว ... และข้าพเจ้าสละราคะแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ฯลฯ และข้าพเจ้าสละโทสะแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ฯลฯ และข้าพเจ้าสละ คาย พ้น ละ สลัด เพิก ถอนโมหะขึ้นแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ
ปฐมฌานกับภาวะที่จิตปลอดจากราคะ โทสะและโมหะ
ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ปฐมฌาน ... ข้าพเจ้า เป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำปฐมฌานให้แจ้งแล้ว ... และจิตของข้าพเจ้าปลอดจาก ราคะ ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโทสะ ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ ด้วย อาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก
ขัณฑจักร จบ
พัทธจักร
[๒๑๐] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานและตติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๗}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ได้ทุติยฌานและตติยฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำทุติยฌานและ ตติยฌานให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานและจตุตถฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ...ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ทุติยฌาน และจตุตถฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำทุติยฌานและจตุตถฌานให้ แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานและสุญญตวิโมกข์แล้ว ด้วย อาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานและอนิมิตตวิโมกข์ ฯลฯ ทุติยฌานและ อัปปณิหิตวิโมกข์ ฯลฯ ทุติยฌานและสุญญตสมาธิ ฯลฯ ทุติยฌานและอนิมิตตสมาธิ ฯลฯ ทุติยฌานและอัปปณิหิตสมาธิ ฯลฯ ทุติยฌานและสุญญตสมาบัติ ฯลฯ ทุติย ฌานและอนิมิตตสมาบัติ ฯลฯ ทุติยฌานและอัปปณิหิตสมาบัติ ฯลฯ ทุติยฌานและ วิชชา ๓ ฯลฯ ทุติยฌานและสติปัฏฐาน ๔ ฯลฯ ทุติยฌานและสัมมัปปธาน ๔ ฯลฯ ทุติยฌานและอิทธิบาท ๔ ฯลฯ ทุติยฌานและอินทรีย์ ๕ ฯลฯ ทุติยฌานและพละ ๕ ฯลฯ ทุติยฌานและโพชฌงค์ ๗ ฯลฯ ทุติยฌานและอริยมรรคมีองค์ ๘ ฯลฯ ทุติยฌาน และโสดาปัตติผล ฯลฯ ทุติยฌานและสกทาคามิผล ฯลฯ ทุติยฌานและอนาคามิผล ฯลฯ ทุติยฌานและอรหัตตผลแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ทุติยฌานและอรหัตตผล ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำ ทุติยฌานและอรหัตตผลให้แจ้งแล้ว...ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ทุติยฌาน... ข้าพเจ้า เป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำทุติยฌานให้แจ้งแล้ว ... ข้าพเจ้าสละราคะแล้ว ... ข้าพเจ้าสละโทสะแล้ว ... ข้าพเจ้าสละ คาย พ้น ละ สลัด เพิก ถอนโมหะขึ้นแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ฯลฯ จิตของข้าพเจ้าปลอดจากราคะ ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้า ทุติยฌานแล้ว ฯลฯ จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโทสะ ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานแล้ว ฯลฯ จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๘}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌานและปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ด้วยอาการ ๗ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ทุติยฌานและปฐมฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำ ทุติยฌานและปฐมฌานให้แจ้งแล้ว ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ ... (๗) อำพรางความ ประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก.
พัทธจักร จบ
พึงตั้งอุตตริมนุสสธรรมข้อหนึ่งๆ หมุนเวียนไปจนครบด้วยวิธีนี้ คำที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นคำที่ท่านย่อไว้
พัทธจักร เอกมูลกนัย
[๒๑๑] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานและจตุตถฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานและอรหัตตผลแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้า อยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ตติยฌานและอรหัตตผล ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำตติยฌานและอรหัตตผลให้แจ้งแล้ว ... ต้อง อาบัติปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ตติยฌาน... ข้าพเจ้า เป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำตติยฌานให้แจ้งแล้ว ... ข้าพเจ้าสละราคะแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้าสละโทสะแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้าสละ คาย พ้น ละ สลัด เพิก ถอนโมหะขึ้นแล้ว ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากราคะ ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโทสะ ... จิตของข้าพเจ้า ปลอดจากโมหะ ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานและปฐมฌาน ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าตติยฌานและทุติยฌานแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ เข้าแล้ว ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้ตติยฌานและทุติยฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... ข้าพเจ้าทำ ตติยฌานและทุติยฌานให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๑๙๙}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้า ปฐมฌานแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าทุติยฌาน ฯลฯ ตติยฌาน ฯลฯ และจตุตถ ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... จิตของข้าพเจ้า ปลอดจากโมหะ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้จตุตถฌาน ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... จิตของ ข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าทำจตุตถฌานให้แจ้งแล้ว ต้องอาบัติปาราชิก [๒๑๒] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะและข้าพเจ้า เข้าสุญญตวิโมกข์แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตวิโมกข์ ... อัปปณิหิตวิโมกข์แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... จิตของข้าพเจ้า ปลอดจากโมหะ ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อัปปณิหิตวิโมกข์ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... จิต ของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าทำอัปปณิหิตวิโมกข์ให้แจ้งแล้ว ต้องอาบัติ ปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะและข้าพเจ้าเข้า สุญญตสมาธิแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาธิ ... อัปปณิหิตสมาธิ แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อัปปณิหิตสมาธิ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... จิตของข้าพเจ้าปลอด จากโมหะ และข้าพเจ้าทำอัปปณิหิตสมาธิให้แจ้งแล้ว ต้องอาบัติปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะและข้าพเจ้าเข้า สุญญตสมาบัติแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอนิมิตตสมาบัติ ... อัปปณิหิตสมาบัติแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... จิตของ ข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อัปปณิหิตสมาบัติ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าทำอัปปณิหิตสมาบัติให้แจ้งแล้ว ต้อง อาบัติปาราชิก ฯลฯ ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะและข้าพเจ้าเข้า วิชชา ๓ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าเป็นผู้ได้วิชชา ๓ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ ชำนาญ ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะและข้าพเจ้าทำวิชชา ๓ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๒๐๐}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะและข้าพเจ้าเข้า สติปัฏฐาน ๔ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าสัมมัปปธาน ๔ ...อิทธิบาท ๔ แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ...จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อิทธิบาท ๔ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... จิตของข้าพเจ้าปลอด จากโมหะและข้าพเจ้าทำอิทธิบาท ๔ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก [๒๑๓] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และ ข้าพเจ้าเข้าอินทรีย์ ๕ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าเข้าพละ ๕ แล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ...จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และ ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้พละ ๕ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าทำพละ ๕ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้า โพชฌงค์ ๗ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าเป็นผู้ได้โพชฌงค์ ๗ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าทำโพชฌงค์ ๗ ให้แจ้งแล้ว ... ต้อง อาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้า อริยมรรคมีองค์ ๘ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้า แล้ว จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ ข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อริยมรรคมีองค์ ๘ ... ข้าพเจ้า เป็นผู้ชำนาญ ... จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าทำอริยมรรคมีองค์ ๘ ให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าเข้า โสดาปัตติผลแล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ... ข้าพเจ้าเข้าสกทาคามิผล ฯลฯ อนาคามิผล ฯลฯ อรหัตตผลแล้ว ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ... จิตของข้าพเจ้า ปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าเป็นผู้ได้อรหัตตผล ... ข้าพเจ้าเป็นผู้ชำนาญ...จิตของ ข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าทำอรหัตตผลให้แจ้งแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๒๐๑}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ และข้าพเจ้าสละราคะ แล้ว ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ข้าพเจ้าสละโทสะแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้าสละ คาย พ้น ละ สลัด เพิก ถอนโมหะขึ้นแล้ว ... ต้องอาบัติปาราชิก ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโมหะ ฯลฯ จิตของ ข้าพเจ้าปลอดจากราคะ ฯลฯ จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโทสะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลัง กล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าวเท็จแล้ว (๔) อำพราง ความเห็น (๕) อำพรางความเห็นชอบ (๖) อำพรางความพอใจ (๗) อำพราง ความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก
พัทธจักรเอกมูลกนัย จบ
แม้พัทธจักรทุมูลกนัยเป็นต้นก็พึงให้พิสดารเหมือนพัทธจักรเอกมูลกนัยที่ให้ พิสดารแล้ว คำที่จะกล่าวต่อไปนี้เป็นพัทธจักรสัพพมูลกนัย
พัทธจักร สัพพมูลกนัย
[๒๑๔] ภิกษุกล่าวเท็จทั้งที่รู้ว่า ข้าพเจ้าเข้าปฐมฌาน ทุติยฌาน ตติยฌาน จตุตถฌาน สุญญตวิโมกข์ อนิมิตตวิโมกข์ อัปปณิหิตวิโมกข์ สุญญตสมาธิ อนิมิตตสมาธิ อัปปณิหิตสมาธิ สุญญตสมาบัติ อนิมิตตสมาบัติ อัปปณิหิตสมาบัติ วิชชา ๓ สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔ อินทรีย์ ๕ พละ ๕ โพชฌงค์ ๗ อริยมรรคมีองค์ ๘ โสดาปัตติผล สกทาคามิผล อนาคามิผลและอรหัตตผล ... ข้าพเจ้าเข้าอยู่ ... ข้าพเจ้าเป็นผู้เข้าแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้าสละราคะแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้า สละโทสะแล้ว ฯลฯ ข้าพเจ้าสละ คาย พ้น ละ สลัด เพิก ถอนโมหะขึ้นแล้ว ... จิต ของข้าพเจ้าปลอดจากราคะ จิตของข้าพเจ้าปลอดจากโทสะ จิตของข้าพเจ้าปลอด จากโมหะ ด้วยอาการ ๓ อย่าง ฯลฯ ด้วยอาการ ๗ อย่าง คือ (๑) เบื้องต้นเธอรู้ว่า จักกล่าวเท็จ (๒) กำลังกล่าว ก็รู้ว่ากำลังกล่าวเท็จ (๓) ครั้นกล่าวแล้ว ก็รู้ว่ากล่าว {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๑ หน้า : ๒๐๒}

พระวินัยปิฎก มหาวิภังค์ [๑. ปาราชิกกัณฑ์]

ปาราชิกสิกขาบทที่ ๔ บทภาชนีย์

เท็จแล้ว (๔) อำพรางความเห็น (๕) อำพรางความเห็นชอบ (๖) อำพรางความ พอใจ (๗) อำพรางความประสงค์ ต้องอาบัติปาราชิก
สัพพมูลกนัย จบ
สุทธิกวารกถา จบ


                  เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๑ หน้าที่ ๑๘๖-๒๐๓. http://84000.org/tipitaka/read/m_siri.php?B=1&siri=29              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [1], [2], [3], [4], [5], [6].                   อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/read/v.php?B=1&A=8761&Z=9525                   ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=1&i=237              พระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=1&item=237&items=18              อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=1&A=12758              The Pali Tipitaka in Roman :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=1&item=237&items=18              The Pali Atthakatha in Roman :- http://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=1&A=12758                   สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu1              อ่านเทียบฉบับแปลอังกฤษ Compare with English Translation :- https://suttacentral.net/pli-tv-bu-vb-pj4/en/brahmali#pli-tv-bu-vb-pj4:4.2.0.1



บันทึก ๓๑ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๙ บันทึกล่าสุด ๒๒ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :