ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
ผลการค้นหา คำว่า  “ พุทธวจน ”  :-
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๗  พระวินัยปิฎกเล่มที่ ๗  จุลวรรค ภาค ๒
บวช พวกเธอจะทำพระพุทธวจนะให้ผิดเพี้ยนจากภาษาเดิม ผิฉะนั้น ข้าพระ-
*พุทธเจ้าทั้งหลายจะขอยกพระพุทธวจนะขึ้นโดยภาษาสันสกฤต
เธอจึงได้กล่าวอย่างนี้ว่า ผิฉะนั้น ข้าพระพุทธเจ้าทั้งหลายจะขอยกพระพุทธวจนรับสั่งกะภิกษุทั้งหลายว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย ภิกษุไม่พึงยกพุทธวจนะขึ้นโดยภาษา
	เราอนุญาตให้เล่าเรียนพุทธวจนะตามภาษาเดิม ฯ

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๗  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๙  สังยุตตนิกาย ขันธวารวรรค
	ข้าแต่ท่านผู้เจริญ  เนื้อความแห่งพระพุทธวจนะที่พระผู้มีพระภาคตรัสโดยย่อนี้  จะพึง
	[๒๔] ดูกรคฤหบดี  พระพุทธวจนะ ที่พระผู้มีพระภาค  ตรัสแล้วในมาคัณฑิยปัญหา
ภิกษุเหล่านั้น นั่งลงเรียบร้อยแล้ว พระผู้มีพระภาค จึงได้ตรัสพระพุทธวจนะว่า ดูกรภิกษุทั้ง-

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๘  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๐  สังยุตตนิกาย สฬายตนวรรค
พระพุทธวจนะนั้น อันพระผู้มีพระภาคทรงภาษิต หมายเอาความดับแห่งอายตนะ ๖

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๐  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๒  อังคุตตรนิกาย เอก-ทุก-ติกนิบาต
*พระภาคได้ตรัสพระพุทธวจนะดังนี้ว่า ดูกรพราหมณ์ บุคคลบางคนในโลกนี้

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๘  ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา
	[๒๐๒] 	ภิกษุผู้สงบดีแล้ว มีความปราโมทย์อย่างยิ่ง ย่อมกล่าวพระพุทธวจนะที่
		ประสบความสงบใจ ภิกษุไม่รู้สึกตนด้วยเหตุสักว่าการท่องบ่นพุทธ
		วจนะ ย่อมท่องเที่ยวชูคอ สำคัญตนประเสริฐกว่าผู้อื่น ผู้ใด

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๐  พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๒  ขุททกนิกาย จูฬนิทเทส
	ผู้มีปฏิภาณในปริยัติเป็นไฉน? พุทธวจนะ คือ สุตตะ เคยยะ เวยยากรณ์ คาถา
เวทัลละ. พระพุทธวจนะย่อมแจ่มแจ้งแก่บุคคลนั้น เพราะอาศัยการเล่าเรียน. บุคคลนี้ชื่อว่า

บันทึก ๒๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๖. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎก ฉบับหลวง. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]