ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ  พระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก  พระอภิธรรมปิฎก  ค้นพระไตรปิฎก  ชาดก  หนังสือธรรมะ 
พระไตรปิฎก
 หน้า
 แสดง
หน้า
พระไตรปิฏกเล่มที่ ๓๕ พระอภิธรรมปิฎกเล่มที่ ๒ [ฉบับมหาจุฬาฯ] วิภังคปกรณ์

หน้าที่ ๕๓๖-๕๓๗.


                                                                 พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ [๑๗. ขุททกวัตถุวิภังค์]

                                                                 ๑. เอกกมาติกา

(๔๒) ภัตตสัมมทะ (ความเมาในอาหาร) (๘๕๙) (๔๓) เจตโสลีนัตตะ (ความหดหู่จิต) (๘๖๐) (๔๔) กุหนา (ความหลอกลวง) (๘๖๑) (๔๕) ลปนา (การพูดประจบ) (๘๖๒) (๔๖) เนมิตติกตา (การทำนิมิต) (๘๖๓) (๔๗) นิปเปสิกตา (การพูดลบล้างความดีของคนอื่น) (๘๖๔) (๔๘) ลาเภนลาภังนิชิคิงสนตา (การแลกเปลี่ยนลาภด้วยลาภ) (๘๖๕) (๔๙) ความถือตัวว่า เป็นผู้เลิศกว่าเขา (๘๖๖) (๕๐) ความถือตัวว่า เป็นผู้เสมอเขา (๘๖๗) (๕๑) ความถือตัวว่า เป็นผู้ด้อยกว่าเขา (๘๖๘) (๕๒) เป็นผู้เลิศกว่าเขา ถือตัวว่าเลิศกว่าเขา (๘๖๙) (๕๓) เป็นผู้เลิศกว่าเขา ถือตัวว่าเสมอเขา (๘๗๐) (๕๔) เป็นผู้เลิศกว่าเขา ถือตัวว่าด้อยกว่าเขา (๘๗๑) (๕๕) เป็นผู้เสมอเขา ถือตัวว่าเลิศกว่าเขา (๘๗๒) (๕๖) เป็นผู้เสมอเขา ถือตัวว่าเสมอเขา (๘๗๓) (๕๗) เป็นผู้เสมอเขา ถือตัวว่าด้อยกว่าเขา (๘๗๔) (๕๘) เป็นผู้ด้อยกว่าเขา ถือตัวว่าเลิศกว่าเขา (๘๗๕) (๕๙) เป็นผู้ด้อยกว่าเขา ถือตัวว่าเสมอเขา (๘๗๖) (๖๐) เป็นผู้ด้อยกว่าเขา ถือตัวว่าด้อยกว่าเขา (๘๗๗) (๖๑) มานะ (ความถือตัว) (๘๗๘) (๖๒) อติมานะ (ความดูหมิ่นผู้อื่น (๘๗๙) (๖๓) มานาติมานะ (ความเย่อหยิ่งถือตัว) (๘๘๐) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๕ หน้า : ๕๓๖}

                                                                 พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ [๑๗. ขุททกวัตถุวิภังค์]

                                                                 ๒. ทุกมาติกา

(๖๔) โอมานะ (ความดูหมิ่นตนเอง) (๘๘๑) (๖๕) อธิมานะ (ความสำคัญว่าได้บรรลุ) (๘๘๒) (๖๖) อัสมิมานะ (ความสำคัญว่ามีตัวตน) (๘๘๓) (๖๗) มิจฉามานะ (ความถือตัวผิด) (๘๘๔) (๖๘) ญาติวิตักกะ (ความตรึกถึงญาติ) (๘๘๕) (๖๙) ชนปทวิตักกะ (ความตรึกถึงชนบท) (๘๘๖) (๗๐) อมรวิตักกะ (ความตรึกเพื่อเอาตัวรอด) (๘๘๗) (๗๑) ปรานุททยตาปฏิสังยุตตวิตักกะ (ความตรึกเกี่ยวด้วยความ เอ็นดูผู้อื่น) (๘๘๘) (๗๒) ลาภสักการสิโลกปฏิสังยุตตวิตักกะ (ความตรึกเกี่ยวด้วยลาภ สักการะและชื่อเสียง) (๘๘๙) (๗๓) อนวัญญัตติปฏิสังยุตตวิตักกะ (ความตรึกเกี่ยวด้วยความไม่ ต้องการให้ใครดูหมิ่น) (๘๙๐)
เอกกมาติกา จบ
๒. ทุกมาติกา
[๘๓๓] (๑) โกธะ (ความโกรธ) (๘๙๑) อุปนาหะ (ความผูกโกรธ) (๘๙๑) (๒) มักขะ (ความลบหลู่) (๘๙๒) ปลาสะ (ความตีตัวเสมอ) (๙๘๒) (๓) อิสสา (ความริษยา) (๘๙๓) มัจฉริยะ (ความตระหนี่) (๘๙๓) (๔) มายา (ความเจ้าเล่ห์) (๘๙๔) สาเถยยะ (ความโอ้อวด) (๘๙๔) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๓๕ หน้า : ๕๓๗}

เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับ มจร. เล่มที่ ๓๕ หน้าที่ ๕๓๖-๕๓๗. https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/read_page.php?book=35&page=536&pages=2&edition=mcu ศึกษาพระสูตร (เนื้อความ) นี้แยกตามสารบัญ :- https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_read.php?B=35&A=15160 https://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_line.php?B=35&A=15160#p536 สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ 35 :- https://84000.org/tipitaka/read/?index_35 https://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu35 https://84000.org/tipitaka/english/?index_35



จบการแสดงผล หน้าที่ ๕๓๖-๕๓๗.

บันทึก ๑๗ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจากพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]