ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
     ฉบับหลวง   ฉบับมหาจุฬาฯ   บาลีอักษรไทย   PaliRoman 
อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๓ [ฉบับมหาจุฬาฯ] อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต
๗. ปฐมโวหารปถสูตร๒-
ว่าด้วยครรลองแห่งโวหาร สูตรที่ ๑
[๒๒๗] ฯลฯ๑- ๑. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ไม่ได้เห็นว่าได้เห็น ๒. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ไม่ได้ฟังว่าได้ฟัง ๓. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ไม่ได้ทราบว่าได้ทราบ ๔. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ไม่ได้รู้ว่าได้รู้ ฯลฯ๑- @เชิงอรรถ : @ ดูข้อความเต็มในข้อ ๒๑๒ (ทิฏฐิสูตร) หน้า ๓๓๒-๓๓๓ ในเล่มนี้ @ ดูข้อ ๒๑๗ (ปฐมโวหารปถสูตร) หน้า ๓๓๕ ในเล่มนี้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๑ หน้า : ๓๔๑}

พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต [๕. ปัญจมปัณณาสก์]

๓. ทุจจริตวรรค ๘. ทุติยโวหารปถสูตร

๑. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ไม่ได้เห็นว่าไม่ได้เห็น ๒. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ไม่ได้ฟังว่าไม่ได้ฟัง ๓. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ไม่ได้ทราบว่าไม่ได้ทราบ ๔. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ไม่ได้รู้ว่าไม่ได้รู้ ฯลฯ๒-
ปฐมโวหารปถสูตรที่ ๗ จบ
๘. ทุติยโวหารปถสูตร๒-
ว่าด้วยครรลองแห่งโวหาร สูตรที่ ๒
[๒๒๘] ฯลฯ๑- ๑. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ได้เห็นว่าไม่ได้เห็น ๒. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ได้ฟังว่าไม่ได้ฟัง ๓. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ได้ทราบว่าไม่ได้ทราบ ๔. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ได้รู้ว่าไม่ได้รู้ ฯลฯ๑- ๑. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ได้เห็นว่าได้เห็น ๒. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ได้ฟังว่าได้ฟัง ๓. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ได้ทราบว่าได้ทราบ ๔. เป็นผู้กล่าวสิ่งที่ได้รู้ว่าได้รู้ ฯลฯ๑-
ทุติยโวหารปถสูตรที่ ๘ จบ
@เชิงอรรถ : @ ดูข้อความเต็มในข้อ ๒๑๒ (ทิฏฐิสูตร) หน้า ๓๓๒-๓๓๓ ในเล่มนี้ @ ดูข้อ ๒๑๘ (ทุติยโวหารปถสูตร) หน้า ๓๓๖ ในเล่มนี้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๑ หน้า : ๓๔๒}

พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต [๕. ปัญจมปัณณาสก์]

๓. ทุจจริตวรรค ๑๐. ทุปปัญญสูตร

๙. อหิริกสูตร
ว่าด้วยผู้ไม่มีหิริและผู้มีหิริ
[๒๒๙] ฯลฯ๑- ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ทุศีล ๓. เป็นผู้ไม่มีหิริ ๔. เป็นผู้ไม่มีโอตตัปปะ ฯลฯ๑- ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีศีล ๓. เป็นผู้มีหิริ ๔. เป็นผู้มีโอตตัปปะ ฯลฯ๑-
อหิริกสูตรที่ ๙ จบ
๑๐. ทุปปัญญสูตร
ว่าด้วยผู้มีปัญญาทรามและผู้มีปัญญา
[๒๓๐] ฯลฯ๑- ๑. เป็นผู้ไม่มีศรัทธา ๒. เป็นผู้ทุศีล ๓. เป็นผู้เกียจคร้าน ๔. เป็นผู้มีปัญญาทราม ฯลฯ๑- ๑. เป็นผู้มีศรัทธา ๒. เป็นผู้มีศีล ๓. เป็นผู้ปรารภความเพียร ๔. เป็นผู้มีปัญญา ภิกษุทั้งหลาย บัณฑิตผู้เฉียบแหลม เป็นสัตบุรุษ ประกอบด้วยธรรม ๔ ประการนี้แลย่อมบริหารตนไม่ให้ถูกกำจัด ไม่ให้ถูกทำลาย ไม่มีความเสียหาย ไม่ถูกผู้รู้ติเตียนและประสพบุญเป็นอันมาก
ทุปปัญญสูตรที่ ๑๐ จบ
@เชิงอรรถ : @ ดูข้อความเต็มในข้อ ๒๑๒ (ทิฏฐิสูตร) หน้า ๓๓๒-๓๓๓ ในเล่มนี้ {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๑ หน้า : ๓๔๓}

พระสุตตันตปิฎก อังคุตตรนิกาย จตุกกนิบาต [๕. ปัญจมปัณณาสก์]

๓. ทุจจริตวรรค รวมพระสูตรที่มีในวรรค

๑๑. กวิสูตร
ว่าด้วยกวี
[๒๓๑] ภิกษุทั้งหลาย กวี ๔ จำพวกนี้ กวี ๔ จำพวก ไหนบ้าง คือ ๑. จินตากวี๑- ๒. สุตกวี๒- ๓. อัตถกวี๓- ๔. ปฏิภาณกวี๔- ภิกษุทั้งหลาย กวี ๔ จำพวกนี้แล
กวิสูตรที่ ๑๑ จบ
ทุจจริตวรรคที่ ๔ จบ
รวมพระสูตรที่มีในวรรคนี้ คือ
๑. ทุจจริตสูตร ๒. ทิฏฐิสูตร ๓. อกตัญญุตาสูตร ๔. ปาณาติปาตีสูตร ๕. ปฐมมัคคสูตร ๖. ทุติยมัคคสูตร ๗. ปฐมโวหารปถสูตร ๘. ทุติยโวหารปถสูตร ๙. อหิริกสูตร ๑๐. ทุปปัญญสูตร ๑๑. กวิสูตร @เชิงอรรถ : @ จินตากวี คือ ผู้รู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์บทกลอน ตามแนวความคิดของตน @(องฺ.จตุกฺก.อ. ๒/๒๒๑-๒๓๑/๔๔๐) @ สุตกวี คือ ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์ตามที่ได้ฟังมา (องฺ.จตุกฺก.อ. ๒/๒๒๑-๒๓๑/๔๔๐) @ อัตถกวี คือ ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์ โดยอาศัยความหมายสั้นๆ แล้วขยายความให้พิสดาร @(องฺ.จตุกฺก.อ. ๒/๒๒๑-๒๓๑/๔๔๐) @ ปฏิภาณกวี คือ ผู้เชี่ยวชาญในศิลปะการประพันธ์ โดยใช้ปฏิภาณของตน ในลักษณะแต่งกลอนสดเหมือน @พระวังคีสเถระ (องฺ.จตุกฺก.อ. ๒/๒๒๑-๒๓๑/๔๔๐) {ที่มา : โปรแกรมพระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เล่ม : ๒๑ หน้า : ๓๔๔}

             เนื้อความพระไตรปิฎกฉบับมหาจุฬาฯ เล่มที่ ๒๑ หน้าที่ ๓๔๑-๓๔๔. http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_read.php?B=21&A=10184&w= http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/m_siri.php?B=21&siri=139              ฟังเนื้อความพระไตรปิฎก : [คลิกเพื่อฟัง]              อ่านเทียบพระไตรปิฎกฉบับหลวง :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/v.php?B=21&A=6134&Z=6194&pagebreak=0              ศึกษาอรรถกถานี้ได้ที่ :- http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=21&i=221              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลี อักษรไทย :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/pali_item_s.php?book=21&item=221&items=11              ศึกษาพระไตรปิฏกฉบับภาษาบาลี อักษรโรมัน :- http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/roman_item_s.php?book=21&item=221&items=11              สารบัญพระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๑ http://84000.org/tipitaka/read/?index_mcu21

อ่านหน้า[ต่าง] แรกอ่านหน้า[ต่าง] ที่แล้วอ่านหน้า[ต่าง] ถัดไปอ่านหน้า[ต่าง] สุดท้าย

บันทึก ๕ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๕๙. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาฯ. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]