ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ สมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต) พระธรรมปิฎก (ประยุทธ์ ปยุตฺโต)
            การค้นหาคำว่า “ ึก ”             ผลการค้นหาพบ  7  ตำแหน่ง ดังนี้ :-

แสดงผลการค้น ลำดับที่  1 / 7
จารึก เขียน, เขียนเป็นตัวอักษร, เขียนรอยลึกเป็นตัวอักษรลงในใบลาน หรือลงแผ่นศิลา แผ่นโลหะ

แสดงผลการค้น ลำดับที่  2 / 7
ดึกดำบรรพ์ ครั้งเก่าก่อน, ครั้งโบราณ

แสดงผลการค้น ลำดับที่  3 / 7
ธรรมกถึก ผู้กล่าวสอนธรรม, ผู้แสดงธรรม, นักเทศก์

แสดงผลการค้น ลำดับที่  4 / 7
ระลึกชอบ ดู สัมมาสติ

แสดงผลการค้น ลำดับที่  5 / 7
ศึกษา การเล่าเรียนฝึกฝนและอบรม,
       ในพระพุทธศาสนา ได้แก่ สิกขา

แสดงผลการค้น ลำดับที่  6 / 7
องค์แห่งธรรมกถึก ๕ คือ
       ๑. แสดงธรรมไปตามลำดับไม่ตัดลัดให้สับสน หรือขาดความ
       ๒. ชี้แจงยกเหตุผลมาแสดงให้ผู้ฟังเข้าใจ
       ๓. สอนเขาด้วยเมตตา ตั้งจิตปรารถนาให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
       ๔. ไม่แสดงธรรมเพราะเห็นแก่ลาภ
       ๕. ไม่แสดงธรรมกระทบตนและผู้อื่น คือ ไม่ยกตน ไม่เสียดสีข่มขี่ผู้อื่น

แสดงผลการค้น ลำดับที่  7 / 7
อนึก กองทัพ คือ ช้าง ม้า รถ พลเดิน ที่จัดเป็นกองๆ แล้ว


พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์
http://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=ึก
http://84000.org/tipitaka/dic/v_seek.php?text=%D6%A1


บันทึก  ๒, ๓๐ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๗ การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ พิมพ์ครั้งที่ ๑๐. พ.ศ. ๒๕๔๖ หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]