ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
ผลการค้นหาคำว่า “ ย่อมระลึกได้ ” :-
พบในอรรถกถาเพื่ออธิบายเนื้อความในพระไตรปิฎก ดังนี้ :-
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑

               อรรถกถา มหาวิภังค์ ปฐมภาค
               เวรัญชกัณฑ์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=1&i=1&p=12&h=ย่อมระลึกได้#hl

               จริงอยู่ พวกเดียรถีย์ย่อมระลึกได้เพียง ๔๐ กัปเท่านั้น เลยจากนั้นไป ระลึกไม่ได้.
               จริงอยู่ อภินิหารของพระมหาสาวก พระอัครสาวกและพระปัจเจกพุทธเหล่านั้น มีประมาณเท่านี้. ส่วนของพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ไม่มีกำหนด, พระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมระลึกได้ตราบเท่าที่ทรงปรารถนา.
               แต่พวกเดียรถีย์ย่อมระลึกได้ตามลำดับขันธ์เท่านั้น พ้นลำดับ (ขันธ์) ไป ย่อมไม่สามารถจะระลึกได้ ด้วยอำนาจจุติและปฏิสนธิ. เพราะว่าการก้าวลงสู่ประเทศ (แห่งญาณ) ที่ตนปรารถนา ย่อมไม่มีแก่เดียรถีย์เหล่านั้น ผู้เป็นเหมือนคนบอด.
               พระสาวกทั้งหลายย่อมระลึกได้แม้โดยประการทั้ง ๒. พระปัจเจกพุทธทั้งหลาย ก็เหมือนอย่างนั้น. ส่วนพระพุทธเจ้าทั้งหลาย ย่อมทรงระลึกได้ตลอดสถานที่ๆ ทรงมุ่งหวังนั้นๆ ทั้งหมดทีเดียว ในเบื้องต่ำหรือเบื้องบน ในโกฏิกัปเป็นอันมากด้วยลำดับขันธ์บ้าง ด้วยอำนาจจุติและปฏิสนธิบ้าง ด้วยอำนาจการก้าวไปดุจราชสีห์บ้าง.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑๔ มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์

               อรรถกถา มัชฌิมนิกาย อุปริปัณณาสก์ สุญญตวรรค
               เทวทูตสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=14&i=504&p=1&h=ย่อมระลึกได้#hl

               ก็ผู้มีบาปกรรมนิดหนึ่ง ย่อมระลึกได้ตามธรรมดาของตน แม้ถูกเขาให้ระลึกก็ระลึกได้. ในข้อนั้น มีทมิฬชื่อ ฑีฆทันตะ ระลึกได้ตามธรรมดาของตน.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๕ ขุททกนิกาย ขุททกปาฐะ-ธรรมบท-อุทาน-อิติวุตตกะ-สุตตนิบาต

               อรรถกถา ขุททกนิกาย คาถาธรรมบท ภิกขุวรรคที่ ๒๕
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=35&p=12&h=ย่อมระลึกได้#hl

               เราย่อมระลึกได้ซึ่งบุพเพนิวาส๑-, ทิพยจักษุ เราก็ชำระแล้ว,

               อรรถกถา ขุททกนิกาย อิติวุตตกะ ติกนิบาต
               ปัญจมวรรค ธรรมสูตร
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=25&i=279&p=1&h=ย่อมระลึกได้#hl

               ภิกษุเห็นปานนี้ นี้ เมื่อระลึกถึงขันธ์ที่ตนเคยอยู่อาศัยมาก่อน ดังพรรณนามานี้ ย่อมระลึกได้หลายสังวัฏฏกัปบ้าง หลายวิวัฏฏกัปบ้าง หลายสังวัฏฏวิวัฏฏกัปบ้าง.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๖ ขุททกนิกาย วิมาน-เปตวัตถุ เถร-เถรีคาถา

               อรรถกถา ขุททกนิกาย เถรคาถา ทุกนิบาต วรรคที่ ๓
               ๓. โสภิตเถรคาถา
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=26&i=280&p=1&h=ย่อมระลึกได้#hl

               พระโสภิตะจุติจากอสัญญภพนั้นแล้วมาบังเกิดในภพนี้ เธอย่อมรู้ภพนั่น โสภิตะย่อมระลึกได้.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๒

               อรรถกถา มหานารทกัสสปชาดก
               ว่าด้วย พระมหานารทกัสสปะทรงบำเพ็ญอุเบกขาบารมี
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=28&i=834&p=2&h=ย่อมระลึกได้#hl

               อลาตเสนาบดี และวีชกะผู้เป็นทาส ย่อมระลึกได้เพียงชาติเดียวเท่านั้น มิใช่แต่ท่านเหล่านั้นเท่านั้นที่ระลึกชาติได้

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๑ ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค

               อรรถกถา ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค ๑. ญาณกถา
               อภิญเญยยนิทเทส
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=31&i=2&p=3&h=ย่อมระลึกได้#hl

               บุคคลย่อมระลึกได้ด้วยธรรมชาตินั้น, หรือระลึกเอง ฉะนั้น ธรรมชาตินั้นชื่อว่าสติ.

               อรรถกถา ขุททกนิกาย ปฏิสัมภิทามรรค มหาวรรค ๑. ญาณกถา
               บุพเพนิวาสานุสติญาณนิทเทส
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=31&i=256&p=1&h=ย่อมระลึกได้#hl

               ในชนเหล่านั้น เดียรถีย์ทั้งหลายย่อมระลึกได้ ๔๐ กัป. ไม่ยิ่งไปกว่านั้น. เพราะเหตุไร เพราะเดียรถีย์มีปัญญาอ่อน.
               สาวกธรรมดาย่อมระลึกได้ ๑๐๐ กัปบ้าง ๑,๐๐๐ กัปบ้าง เพราะมีปัญญาแก่กล้า. มหาสาวก ๘๐ รูประลึกได้แสนกัป.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑

               อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๒. สีหาสนิวรรค
               ๔. จุลลปันถกเถราปทาน (๑๔)
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=32&i=16&p=1&h=ย่อมระลึกได้#hl

               บทว่า ยํ ยํ โยนึ ความว่า ย่อมระลึกได้ถึงชาติในกำเนิดมนุษย์เป็นต้น.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔ ธรรมสังคณีปกรณ์

               อรรถกถา ธรรมสังคณีปกรณ์
               จิตตุปปาทกัณฑ์ กุศลธรรม รูปาวจรกุศล กสิณ ฌาน จตุกกนัย
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=34&i=139&p=1&h=ย่อมระลึกได้#hl

               บุคคลใดย่อมระลึกได้ เพราะเหตุนั้น บุคคลนั้นจึงชื่อว่ามีสติ. บุคคลใดย่อมรู้ทั่วโดยชอบ เพราะเหตุนั้น บุคคลนั้นจึงชื่อว่ามีสัมปชานะ (ผู้รู้ทั่วโดยชอบ).

               อรรถกถา ธรรมสังคณีปกรณ์
               อัตถุทธารกัณท์ ติกะ
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=34&i=878&p=1&h=ย่อมระลึกได้#hl

               ก็คำของพวกเกจิอาจารย์นั้นท่านปฏิเสธไว้ในอรรถกถาทั้งหลายว่า ไม่ถูกต้อง เพราะจิตสองดวงซึ่งเป็นเหตุให้บุคคลเมื่อรำลึกแม้ร้อยปี แม้พันปี ย่อมระลึกได้และย่อมรู้ได้ ไม่มีฐานะร่วมกัน

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๕ วิภังคปกรณ์

               อรรถกถา วิภังคปกรณ์
               สัจจวิภังค์ สุตตันตภาชนีย์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=35&i=144&p=1&h=ย่อมระลึกได้#hl

               จริงอย่างนั้น ศัพท์ว่าชาตินี้ มาในภพ ในประโยคนี้ว่า๑- เอกมฺปิ ชาตึ เทฺวปิ ชาติโย (ย่อมระลึกได้หนึ่งชาติบ้าง สองชาติบ้าง) เป็นต้น.
		ข้อความ   
		กำหนดเล่มที่เริ่มค้น และจำนวนเล่มที่จะค้น
		     โดยเลขที่ของเล่ม เริ่มเล่มที่   จำนวนเล่มที่ค้น 
		     โดยเนื้อหาอรรถกถา ค้นใน 

3 วิ.

บันทึก ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]