ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ พระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก พระอภิธรรมปิฎก ค้นพระไตรปิฎก ชาดก หนังสือธรรมะ
ผลการค้นหาคำว่า “ ปกรณ์ทั้ง ๗ ” :-
พบในอรรถกถาเพื่ออธิบายเนื้อความในพระไตรปิฎก ดังนี้ :-
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๑ มหาวิภังค์ ภาค ๑

               อรรถกถา มหาวิภังค์ ปฐมภาค
               เวรัญชกัณฑ์
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=1&i=1&p=4&h=ปกรณ์ทั้ง ๗#hl

               พวกท่านได้สอนพระวินัยปิฎกในเกาะตัมพปัณณิ สอนนิกายทั้ง ๕ และปกรณ์ทั้ง ๗.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๔ อังคุตตรนิกาย ทสก-เอกาทสกนิบาต

               อรรถกถา อังคุตตรนิกาย ทสกนิบาต ปฐมปัณณาสก์ นาถกรณวรรคที่ ๒
               ๗. นาถสูตรที่ ๑
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=24&i=17&p=1&h=ปกรณ์ทั้ง ๗#hl

               ใน ๔ หมวดนั้น ชื่อว่าธรรม ได้แก่พระสุตตันตปิฎก ชื่อว่าอภิธรรม ได้แก่ปกรณ์ทั้ง ๗. ชื่อว่าวินัย ได้แก่วิภังค์ทั้งสอง [ภิกขุวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์] ชื่อว่าอภิวินัย ได้แก่ขันธกะและบริวาร.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑

               อรรถกถา เอกกนิบาตชาดก อปัณณกวรรค
               นิทานกถา ว่าด้วยทูเรนิทาน อวิทูเรนิทาน สันติเกนิทาน
อปัณณกชาดก ว่าด้วยการรู้ฐานะและมิใช่ฐานะ
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=27&i=1&p=7&h=ปกรณ์ทั้ง ๗#hl

               ส่วนนักอภิธรรมกล่าวว่า เรือนอันล้วนแล้วด้วยแก้ว ชื่อว่ารัตนฆระเรือนแก้ว สถานที่ทรงพิจารณาปกรณ์ทั้ง ๗ พระคัมภีร์ ก็ชื่อว่า รัตนฆรเรือนแก้ว. ก็เพราะเหตุที่ปริยายแม้ทั้งสองนี้ย่อมใช้ได้ในที่นี้ ฉะนั้น

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๒ ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑

               อรรถกถา ขุททกนิกาย อปทาน ภาค ๑ เถราปทาน ๑. พุทธวรรค
               ๑. พุทธาปทาน
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=32&i=1&p=8&h=ปกรณ์ทั้ง ๗#hl

               ส่วนนักอภิธรรมทั้งหลายกล่าวว่า ที่ชื่อว่าเรือนแก้ว ไม่ใช่เรือนที่ทำด้วยแก้ว ๗ ประการ แต่สถานที่ที่ทรงพิจารณาปกรณ์ทั้ง ๗ เรียกว่าเรือนแก้ว.

พระไตรปิฎกเล่มที่ ๓๔ ธรรมสังคณีปกรณ์

               อรรถกถา ธรรมสังคณีปกรณ์
               มาติกา ติกมาติกา ๒๒ ติกะ
http://84000.org/tipitaka/attha/attha.php?b=34&i=1&p=1&h=ปกรณ์ทั้ง ๗#hl

               ปกรณ์ทั้ง ๗ รวมทั้งกถาวัตถุจึงชื่อว่า “อภิธรรม” ด้วยประการฉะนี้.
               บรรดาติกะและทุกะเหล่านั้น ธรรมนี้คือ ติกะ ๒๒ ทุกะ ๑๐๐ ชื่อว่ามาติกาแห่งปกรณ์ทั้ง ๗ เป็นพุทธพจน์อันพระชินเจ้าตรัสภาษิตไว้
               แต่บัณฑิตพึงทราบสถานที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงพิจารณาปกรณ์ทั้ง ๗ ว่าเป็นเรือนแก้ว.
               บรรดาปกรณ์ทั้ง ๗ นั้น แม้เมื่อทรงพิจารณาธรรมสังคณี รัศมีทั้งหลายก็ไม่ซ่านออกไปจากพระสรีระ เมื่อพิจารณาวิภังคปกรณ์ ธาตุกถา ปุคคลบัญญัติ กถาวัตถุปกรณ์และยมกปกรณ์
		ข้อความ   
		กำหนดเล่มที่เริ่มค้น และจำนวนเล่มที่จะค้น
		     โดยเลขที่ของเล่ม เริ่มเล่มที่   จำนวนเล่มที่ค้น 
		     โดยเนื้อหาอรรถกถา ค้นใน 

4 วิ.

บันทึก ๒๒ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๙. บันทึกล่าสุด ๑๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๐. การแสดงผลนี้อ้างอิงข้อมูลจาก พระไตรปิฎก ฉบับสยามรัฐ. หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]