ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า
                      พระองค์นั้น
บทนำ  พระวินัยปิฎก  พระสุตตันตปิฎก  พระอภิธรรมปิฎก  ค้นพระไตรปิฎก  ชาดก  หนังสือธรรมะ 
 
อ่านอรรถกถา 15 / 1อ่านอรรถกถา 15 / 950อรรถกถา เล่มที่ 15 ข้อ 952อ่านอรรถกถา 15 / 956อ่านอรรถกถา 15 / 956
อรรถกถา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค สักกสังยุต สักกปัญจกะที่ ๓
อัจจยสูตรที่ ๔

               อรรถกถาอัจจยสูตรที่ ๔               
               พึงทราบวินิจฉัยในอัจจยสูตรที่ ๔ ต่อไปนี้ :-
               บทว่า สมฺปโยเชสุํ แปลว่า ทะเลาะกัน.
               บทว่า อจฺจสรา ได้แก่ ล่วงเกิน. อธิบายว่า ภิกษุรูปหนึ่งได้กล่าวคำล่วงเกินภิกษุรูปหนึ่ง.
               บทว่า ยถาธมฺมํ น ปฏิคฺคณฺหาติ ได้แก่ ไม่ยกโทษ.
               บทว่า โกโธ โว วสมายาตุ ท่านแสดงว่า ความโกรธจงมาสู่อำนาจของพวกท่าน พวกท่านอย่าไปสู่อำนาจของความโกรธ.
               คำว่า หิ ในบทนี้ว่า มา จ มิตฺเต หิ โว ชรา เป็นเพียงนิบาต. ความเสื่อมในมิตรธรรม อย่าเกิดแก่พวกท่าน.
               อีกอย่างหนึ่ง ตติยาวิภัตติลงในอรรถแห่งสัตตมีวิภัตติ. อธิบายว่า ความเสื่อมในมิตรธรรมอย่าเกิดแล้ว คือว่าความเป็นโดยประการอื่นจากความเป็นมิตร จงอย่ามี.
               บทว่า อครหิยํ มา ครหิตฺถ ความว่า อย่าติเตียนผู้ไม่ควรติเตียน คือบุคคลผู้เป็นขีณาสพ.

               จบอรรถกถาอัจจยสูตรที่ ๔               
               -----------------------------------------------------               

.. อรรถกถา สังยุตตนิกาย สคาถวรรค สักกสังยุต สักกปัญจกะที่ ๓ อัจจยสูตรที่ ๔ จบ.
อ่านอรรถกถา 15 / 1อ่านอรรถกถา 15 / 950อรรถกถา เล่มที่ 15 ข้อ 952อ่านอรรถกถา 15 / 956อ่านอรรถกถา 15 / 956
อ่านเนื้อความในพระไตรปิฎก
https://84000.org/tipitaka/attha/v.php?B=15&A=7732&Z=7758
อ่านอรรถกถาภาษาบาลีอักษรไทย
https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_th.php?B=11&A=8708
The Pali Atthakatha in Roman
https://84000.org/tipitaka/atthapali/read_rm.php?B=11&A=8708
- -- ---- ----------------------------------------------------------------------------
ดาวน์โหลด โปรแกรมพระไตรปิฎก
บันทึก  ๒๘  กันยายน  พ.ศ.  ๒๕๔๙
หากพบข้อผิดพลาด กรุณาแจ้งได้ที่ [email protected]

สีพื้นหลัง :